วันศุกร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

เอกสารสรุปทบทวนวิชากฎหมายมหาชน

เอกสารสรุปทบทวนวิชากฎหมายมหาชน



เอกสารสรุปทบทวนวิชากฎหมายมหาชน

ในการศึกษากฎหมายมหาชน ประการแรกที่เป็นหัวข้อสำคัญที่สุด ก็คือ

"ความหมายของกฎหมายมหาชน"
ในภาพรวม กฎหมายมหาชนมิใช่อย่างอื่น นอกจากเป็นเรื่องของกฎเกณฑ์ทางกฎหมายที่เกี่ยวกับ รัฐ อำนาจรัฐ และการใช้อำนาจรัฐในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับพลเมือง ซึ่งอยู่ในฐานะเป็นเอกชนผู้อยู่ใต้ปกครองของรัฐ

คำนิยามความหมายของกฎหมายมหาชนซึ่งอธิบายโดยศาสตราจารย์ผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายมหาชน อาทิเช่น ศ

.มอรีส ดูแวร์เช่ , ศ.แบร์นา บราเช่ , ศ. อังเดร เดอ โลบาแดร์ , รวมทั้ง ศ.ดร. หยุด แสงอุทัย และ อ.ดร.ปรีดี พนมยงค์ ล้วนอธิบายความหมายของกฎหมายมหาชนในแนวทางเดียวกันทั้งสิ้น คือ กฎหมายมหาชนเป็นกฎเกณฑ์เกี่ยวกับรัฐ อำนาจรัฐ กับความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจรัฐกับพลเมือง ซึ่งเป็นเอกชน เพียงแต่อาจจะมีใช้ถ้อยคำบางคำที่ต่างกันไปเท่านั้น เช่น "ผู้ปกครอง" "ผู้อยู่ใต้ปกครอง" "องค์กรอำนาจสาธารณะ" "บุคคลสาธารณะ" "รัฐ" "หน่วยงาน ของรัฐ" "เอกชน" หรือ "พลเมือง" ฯลฯ เป็นต้น
กฎหมายมหาชนเป็นปรากฏการณ์ของความคิดเชิงตรรกะ ที่เกิดจากบริบทสภาพสังคมวิทยาการเมืองการปกครอง โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อวางกฎเกณฑ์การบริหารเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคม

กฎหมายมหาชนเป็นศาสตร์ประยุกต์

กฎหมายมหาชนมีวัตถุประสงค์เพื่อ

ประโยชน์สาธารณะ

( Applied Science ) และมีลักษณะเป็น พลวัตร ( Dynamic ) คือ ไม่หยุดนิ่ง แต่จะปรับเปลี่ยนได้ตามสภาพความเป็นจริงของสังคม แต่ละยุคสมัย "ประโยชน์สาธารณะ" ( Public interest ) อันเป็นขอบเขตของการใช้อำนาจรัฐทุกประเภท ให้ไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกันโดยไม่ขัดแย้งกัน ทั้งในการตรากฎหมายออกมาใช้บังคับ และในการใช้อำนาจรัฐเพื่อบริหารกฎหมาย ให้บรรลุผล รวมถึง การใช้อำนาจตุลาการในการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท หมายความว่า การใช้อำนาจรัฐจะต้องกระทำภายในขอบเขตวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์สาธารณะเท่านั้น ( Public interest ) มิใช่ประโยชน์ของเอกชนคนใดคนหนึ่งหรือของกลุ่มบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แต่เป็นประโยชน์ของประชาชนโดยรวม และมิใช่ประโยชน์ของประชาชนในปัจจุบันเท่านั้นแต่ยังหมายถึงประโยชน์ของประชาชนในอนาคต อีกด้วย
กฎหมายหมายชนจึงเป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับประโยชน์ของ ๓ ฝ่ายด้วยกัน คือ

หนึ่ง ประโยชน์ของรัฐ ซึ่งเป็นประโยชน์ส่วนรวม สอง คือ ประโยชน์ของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในฐานะเป็นผู้ใช้อำนาจรัฐแทนรัฐ ในนามของรัฐ มิใช่ประโยชน์ส่วนตัวของผู้เป็นเจ้าหน้าที่คนใดคนหนึ่งหรือหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง และ สาม ประโยชน์ของเอกชนแต่ละคน ในฐานะปัจเจกชนที่ได้รับการรับรองและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพโดยกฎหมาย
รองศาสตราจารย์ ดร

.ภูริชญา วัฒนรุ่ง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงได้อธิบายความหมายกฎหมายมหาชนว่า :-
"

กฎหมายมหาชน คือ บรรดากฎเกณฑ์ทางกฎหมายเกี่ยวกับสถานะของรัฐและอำนาจรัฐ รวมทั้งกฎเกณฑ์ทางกฎหมายในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ซึ่งรวมถึงหน่วยงานของรัฐกับพลเมืองผู้อยู่ในฐานะเป็นเอกชนภายใต้การปกครอง และเป็นความสัมพันธ์ในฐานะที่รัฐมีเอกสิทธิ์ทางปกครองเหนือพลเมืองซึ่งอยู่ในฐานะเอกชนนั้น "
จากคำอธิบายความหมายกฎหมายมหาชนข้างต้น จึงสรุปได้ว่า กฎหมายมหาชน ได้แก่

1.

กฎเกณฑ์ทางกฎหมายที่เกี่ยวกับ "สถานะและอำนาจรัฐ" ซึ่งรวมถึงผู้ปกครอง
2.

กฎเกณฑ์ทางกฎหมายเกี่ยวกับ "ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับพลเมือง" โดยพลเมืองอยู่ในฐานะเป็นเอกชนภายใต้การปกครอง
3.

กฎหมายมหาชนจึงเป็นเรื่องของกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ รัฐ อำนาจรัฐ และการใช้อำนาจรัฐ ในความสัมพันธ์ทางกฎหมายระหว่างผู้ใช้อำนาจรัฐกับพลเมือง ซึ่งอยู่ในฐานะเป็นเอกชนผู้อยู่ใต้ปกครองของรัฐ

โดยเนื้อหาแล้ว กฎหมายมหาชนเป็นกฎเกณฑ์ทางกฎหมายเกี่ยวกับรัฐและอำนาจรัฐ รวมทั้งการเป็นกฎเกณฑ์ทางกฎหมายในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับพลเมือง ในส่วนที่เป็นกฎเกณฑ์ทางกฎหมายเกี่ยวกับรัฐและอำนาจรัฐนั้น อาจจะเป็นเรื่องการกำหนด

ความสัมพันธ์ทางกฎหมายระหว่างรัฐกับพลเมืองดังกล่าวเป็นความสัมพันธ์ในฐานะที่รัฐมี "เอกสิทธิ์ทางปกครอง" เหนือพลเมืองที่อยู่ในฐานะเอกชน
เอกสารบรรยายสรุปวิชากฎหมายมหาชน พันตำรวจโท อังกูร วัฒนรุ่ง

โครงสร้างอำนาจขององค์กรใช้อำนาจรัฐฝ่ายต่างๆ เช่น รัฐธรรมนูญ กำหนดองค์กรใช้อำนาจรัฐ

3 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ โดยกำหนดโครงสร้าง และองค์ประกอบของแต่ละองค์กรว่าประกอบด้วยอะไรบ้างและจะจัดระบบการใช้อำนาจรัฐอย่างไร รวมทั้งกำหนดการเข้าสู่ตำแหน่งใช้อำนาจรัฐ รวมไปถึงการกำหนดให้มีองค์กรตรวจสอบที่เป็นอิสระต่างๆ แต่ในระดับรัฐธรรมนูญจะไม่กำหนดลงไปถึงรายละเอียด โดยจะต้องไปตรากฎหมายที่เป็นข้อกำหนดในทางปฏิบัติออกมาอีกชั้นหนึ่งได้แก่กฎหมายระดับพระราชบัญญัติ หรือกฎหมายในลำดับรอง นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญยังกำหนดระบบ "การตรวจสอบและถ่วงดุลย์" ( Checks and Balances ) ในความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร ใช้อำนาจรัฐด้วยกันเองอีกด้วย
กฎหมายมหาชนนั้นมีความหมายกว้างและครอบคลุมมากกว่ากฎหมายปกครอง ดังนั้น ข้อควรระวังที่สำคัญมาก คือ อย่าได้ไปนำเอาขอบเขตของกฎหมายปกครองมาเป็นความหมายของกฎหมายมหาชน เพราะว่า กฎหมายปกครองเป็นเพียงระบบกฎหมายสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชนเท่านั้น

สำหรับกฎหมายปกครอง กล่าวโดยสรุป กฎหมายปกครอง ก็คือ ระบบกฎหมายในการจัดระเบียบบริหารเพื่อการจัดทำบริการสาธารณะ และบรรดาการกระทำทั้งหลายของฝ่ายปกครองนั้นจะต้องอยู่ภายใต้

เพราะฉะนั้น การให้ความหมายของกฎหมายมหาชนว่า กฎหมายมหาชนได้แก่ กฎหมายที่ให้อำนาจหน้าที่หน่วยงานของรัฐในการจัดทำบริการสาธารณะและจะต้องมีการควบคุมตรวจสอบการใช้อำนาจนั้นด้วย การอธิบายอย่างนี้จึงเป็นความหมายของกฎหมายปกครองซึ่งเป็นเพียงส่วนหนึ่งของกฎหมายมหาชนเท่านั้น

"หลักความชอบด้วยกฎหมาย" ( Principe de la légalité ) และ"หลักการกระทำทางปกครองต้องชอบด้วยกฎหมาย" ซึ่งหมายความว่า นอกจากจะต้อง มีกฎหมายกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ของฝ่ายปกครองแล้ว ฝ่ายปกครองยังจะต้องดำเนินการตาม "รูปแบบขั้นตอนและวิธีการ" ที่กฎหมายกำหนดไว้ด้วย มิฉะนั้นจะต้องถือว่า การกระทำทางปกครองนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งก่อสิทธิฟ้องคดีแก่เอกชนเพื่อขอให้ศาลยกเลิกเพิกถอนการกระทำทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายนั้นต่อไป
เอกสารบรรยายสรุปวิชากฎหมายมหาชน พันตำรวจโท อังกูร วัฒนรุ่ง

โดยทั่วไป กฎหมายมหาชน ได้แก่

1.)

กฎหมายรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีความหมายอย่างกว้าง คลอบคลุมทั้ง ตัวรัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญที่บัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษร และรวมถึงหลักรัฐธรรมนูญกับรัฐธรรมนูญที่ไม่ได้เป็นรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษณด้วย
2.)

กฎหมายปกครอง ซึ่งได้แก่ กฎหมายที่เป็นขอบเขตของอำนาจหน้าที่ฝ่ายปกครองในการจัดทำบริการสาธารณะ ซึ่งเป็นพันธะหน้าที่ของรัฐในฐานะที่เป็น ฝ่ายปกครอง
ในแนวความคิดทางทฤษฎีตะวันตก ถือว่า

"รัฐ" (state) เป็น "นิติบุคคล" ( ยกเว้น รัฐไทย ซึ่งตามกฎหมายมหาชนภายในรัฐไทยไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล) ซึ่งเป็นบุคคลสมมุติทางกฎหมายหรือมี "สถานะทางกฎหมาย" เสมือนบุคคล แต่รัฐเป็นเพียงนามธรรม ถึงแม้จะมีรัฐอยู่แต่รัฐก็ไม่มีตัวตน ดังนั้น รัฐจึงต้องมี "รัฐบาล" (government) เป็นผู้ใช้อำนาจรัฐแทนรัฐในนามของรัฐ
แต่สถานะของรัฐบาลนั้นมีอยู่

2 สถานะในเวลาเดียวกัน คือ
(

1) รัฐบาลในฐานะเป็น "ฝ่ายบริหาร" ( Executive ) และ
(

2) รัฐบาลในฐานะเป็น "ฝ่ายปกครอง" ( Administration )
ในสถานะ

2 ประการนี้ มีความแตกต่างกันในสาระสำคัญและมีความแตกต่างกันในระบบการควบคุมตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ซึ่งเป็นหัวข้อที่จะพูดในตอนต่อไป
3.)

ในสมัยปัจจุบันกฎหมายมหาชนยังแยกออกไปเป็น กฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจอีกสาขาวิชาหนึ่งด้วย

ในความหมายของกฎหมายมหาชน โดยเนื้อแท้แล้ว กฎหมายมหาชนเป็นเรื่องกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ รัฐ อำนาจรัฐ และกฎเกณฑ์ทางกฎหมายในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับพลเมือง ซึ่งอาจจะเป็นการกำหนดโครงสร้างองค์กรใช้อำนาจรัฐ หรือเป็นกฎเกณฑ์กำหนดระบบความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรใช้อำนาจรัฐนั้น เช่น รัฐธรรมนูญ กำหนดองค์กรผู้ใช้อำนาจรัฐ

กฎหมายการคลัง ซึ่งได้แก่ กฎหมายเกี่ยวการคลัง การงบประมาณ และกฎหมายภาษีอากร ฯลฯ เป็นต้น 3 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ
เอกสารบรรยายสรุปวิชากฎหมายมหาชน พันตำรวจโท อังกูร วัฒนรุ่ง

โดยกำหนดโครงสร้าง อำนาจหน้าที่ และความสัมพันธ์ว่าจะจัดระบบการใช้อำนาจรัฐนั้นอย่างไร รวมทั้งกำหนดการเข้าสู่ตำแหน่งใช้อำนาจรัฐฝ่ายต่างๆนั้น เป็นต้น

และยังรวมไปถึงการกำหนดให้มี

เหตุที่การกระทำขององค์กรและเจ้าหน้าที่ผู้ใช้อำนาจรัฐ ต้องอยู่ภายใต้

"องค์กรตรวจสอบที่เป็นอิสระ" ต่างๆ แต่ในระดับรัฐธรรมนูญนั้นจะไม่กำหนดรายละเอียดไว้แต่อย่างใด นอกจากนี้ ในความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรผู้ใช้อำนาจรัฐด้วยกัน รัฐธรรมนูญยังกำหนด "ระบบ การตรวจสอบและถ่วงดุลย์" ( Checks and Balances ) ไว้ด้วย ซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามระบบการปกครอง ของแต่ละประเทศ และการกระทำต่างๆของบรรดาองค์กรผู้ใช้อำนาจรัฐเหล่านี้ล้วนต้องอยู่ภายใต้หลักความชอบด้วยกฎหมายเช่นเดียวกัน "หลักความชอบด้วยกฎหมาย" ก็เพราะว่า การเป็นรัฐเสรีนิยมนั้น หมายถึง การเป็น "นิติรัฐ" (État de Droit) นั่นเอง
เรื่อง

"นิติรัฐ" หรือ "หลักนิติรัฐ" เป็นเรื่องสำคัญมากที่สุดในการศึกษากฎหมายมหาชน หากเป็นเรื่องของกฎหมายมหาชนในรัฐเสรีนิยมหรือรัฐในระบอบ การปกครองแบบประชาธิปไตยเสรีนิยม ( Liberal Democracy) พื้นฐานของการกระทำ ที่เป็นการใช้อำนาจรัฐทุกเรื่องล้วนตั้งอยู่ภายใต้หลักการของ "หลักนิติรัฐ" และ "หลักความชอบด้วยกฎหมาย" ทั้งสิ้น
ทั้ง

ตามทฤษฎีฝรั่งตะวันตก ถือว่า ประชาธิปไตยมีรากฐานมาจากคำว่า

แต่ความหมายดั้งเดิมของคำว่าประชาธิปไตยกับความหมายในปัจจุบัน มีความแตกต่างกันมาก เพราะ รัฐและสังคม เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา แนวความคิดจึงเปลี่ยนแปรไปตามสภาพสังคม

แนวความคิดต่างๆในปัจจุบันที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น การเลือกตั้งผู้แทน ระบบพรรคการเมือง การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน สิทธิพลเมืองแนวความคิดเรื่องรัฐชาติสมัยใหม่

"ประชาธิปไตย" ( democracy ) และ "เสรีนิยม" ( liberalism ) เป็นแนวความคิดรูปแบบหนึ่งที่เกี่ยวกับระบอบการเมืองการปกครอง ซึ่งมีประวัติศาสตร์ความคิดย้อนหลังไปมากกว่า 2,000 ปี Democratia ในการระบอบการปกครองของนครรัฐกรีก -รัฐ ผ่านวัฒนธรรมทางการเมืองการปกครองในแต่ละ ยุคแต่ละสมัย ของแต่ละประเทศ ( Modern – nation State ) แนวความคิดเรื่อง
เอกสารบรรยายสรุปวิชากฎหมายมหาชน ( Public interest ) มิใช่ประโยชน์ของเอกชนคนใดคนหนึ่งหรือของกลุ่มบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แต่เป็นประโยชน์ของประชาชนโดยรวม และมิใช่ประโยชน์ของประชาชนในปัจจุบันเท่านั้นแต่ยังหมายถึงประโยชน์ของประชาชนในอนาคต อีกด้วย

กฎหมายหมายชนจึงเป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับประโยชน์ของ ๓ ฝ่ายด้วยกัน คือ

หนึ่ง ประโยชน์ของรัฐ ซึ่งเป็นประโยชน์ส่วนรวม สอง คือ ประโยชน์ของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในฐานะเป็นผู้ใช้อำนาจรัฐแทนรัฐ ในนามของรัฐ มิใช่ประโยชน์ส่วนตัวของผู้เป็นเจ้าหน้าที่คนใดคนหนึ่งหรือหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง และ สาม ประโยชน์ของเอกชนแต่ละคน ในฐานะปัจเจกชนที่ได้รับการรับรองและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพโดยกฎหมาย
รองศาสตราจารย์ ดร

.ภูริชญา วัฒนรุ่ง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงได้อธิบายความหมายกฎหมายมหาชนว่า :-
"

กฎหมายมหาชน คือ บรรดากฎเกณฑ์ทางกฎหมายเกี่ยวกับสถานะของรัฐและอำนาจรัฐ รวมทั้งกฎเกณฑ์ทางกฎหมายในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ซึ่งรวมถึงหน่วยงานของรัฐกับพลเมืองผู้อยู่ในฐานะเป็นเอกชนภายใต้การปกครอง และเป็นความสัมพันธ์ในฐานะที่รัฐมีเอกสิทธิ์ทางปกครองเหนือพลเมืองซึ่งอยู่ในฐานะเอกชนนั้น "
จากคำอธิบายความหมายกฎหมายมหาชนข้างต้น จึงสรุปได้ว่า กฎหมายมหาชน ได้แก่

1.

กฎเกณฑ์ทางกฎหมายที่เกี่ยวกับ "สถานะและอำนาจรัฐ" ซึ่งรวมถึงผู้ปกครอง
2.

กฎเกณฑ์ทางกฎหมายเกี่ยวกับ "ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับพลเมือง" โดยพลเมืองอยู่ในฐานะเป็นเอกชนภายใต้การปกครอง
3.

กฎหมายมหาชนจึงเป็นเรื่องของกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ รัฐ อำนาจรัฐ และการใช้อำนาจรัฐ ในความสัมพันธ์ทางกฎหมายระหว่างผู้ใช้อำนาจรัฐกับพลเมือง ซึ่งอยู่ในฐานะเป็นเอกชนผู้อยู่ใต้ปกครองของรัฐ

โดยเนื้อหาแล้ว กฎหมายมหาชนเป็นกฎเกณฑ์ทางกฎหมายเกี่ยวกับรัฐและอำนาจรัฐ รวมทั้งการเป็นกฎเกณฑ์ทางกฎหมายในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับพลเมือง ในส่วนที่เป็นกฎเกณฑ์ทางกฎหมายเกี่ยวกับรัฐและอำนาจรัฐนั้น อาจจะเป็นเรื่องการกำหนด

ความสัมพันธ์ทางกฎหมายระหว่างรัฐกับพลเมืองดังกล่าวเป็นความสัมพันธ์ในฐานะที่รัฐมี "เอกสิทธิ์ทางปกครอง" เหนือพลเมืองที่อยู่ในฐานะเอกชน
เอกสารบรรยายสรุปวิชากฎหมายมหาชน พันตำรวจโท อังกูร วัฒนรุ่ง 3

โครงสร้างอำนาจขององค์กรใช้อำนาจรัฐฝ่ายต่างๆ เช่น รัฐธรรมนูญ กำหนดองค์กรใช้อำนาจรัฐ

3 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ โดยกำหนดโครงสร้าง และองค์ประกอบของแต่ละองค์กรว่าประกอบด้วยอะไรบ้างและจะจัดระบบการใช้อำนาจรัฐอย่างไร รวมทั้งกำหนดการเข้าสู่ตำแหน่งใช้อำนาจรัฐ รวมไปถึงการกำหนดให้มีองค์กรตรวจสอบที่เป็นอิสระต่างๆ แต่ในระดับรัฐธรรมนูญจะไม่กำหนดลงไปถึงรายละเอียด โดยจะต้องไปตรากฎหมายที่เป็นข้อกำหนดในทางปฏิบัติออกมาอีกชั้นหนึ่งได้แก่กฎหมายระดับพระราชบัญญัติ หรือกฎหมายในลำดับรอง นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญยังกำหนดระบบ "การตรวจสอบและถ่วงดุลย์" ( Checks and Balances ) ในความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร ใช้อำนาจรัฐด้วยกันเองอีกด้วย
กฎหมายมหาชนนั้นมีความหมายกว้างและครอบคลุมมากกว่ากฎหมายปกครอง ดังนั้น ข้อควรระวังที่สำคัญมาก คือ อย่าได้ไปนำเอาขอบเขตของกฎหมายปกครองมาเป็นความหมายของกฎหมายมหาชน เพราะว่า กฎหมายปกครองเป็นเพียงระบบกฎหมายสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชนเท่านั้น

สำหรับกฎหมายปกครอง กล่าวโดยสรุป กฎหมายปกครอง ก็คือ ระบบกฎหมายในการจัดระเบียบบริหารเพื่อการจัดทำบริการสาธารณะ และบรรดาการกระทำทั้งหลายของฝ่ายปกครองนั้นจะต้องอยู่ภายใต้

เพราะฉะนั้น การให้ความหมายของกฎหมายมหาชนว่า กฎหมายมหาชนได้แก่ กฎหมายที่ให้อำนาจหน้าที่หน่วยงานของรัฐในการจัดทำบริการสาธารณะและจะต้องมีการควบคุมตรวจสอบการใช้อำนาจนั้นด้วย การอธิบายอย่างนี้จึงเป็นความหมายของกฎหมายปกครองซึ่งเป็นเพียงส่วนหนึ่งของกฎหมายมหาชนเท่านั้น

"หลักความชอบด้วยกฎหมาย" ( Principe de la légalité ) และ"หลักการกระทำทางปกครองต้องชอบด้วยกฎหมาย" ซึ่งหมายความว่า นอกจากจะต้อง มีกฎหมายกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ของฝ่ายปกครองแล้ว ฝ่ายปกครองยังจะต้องดำเนินการตาม "รูปแบบขั้นตอนและวิธีการ" ที่กฎหมายกำหนดไว้ด้วย มิฉะนั้นจะต้องถือว่า การกระทำทางปกครองนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งก่อสิทธิฟ้องคดีแก่เอกชนเพื่อขอให้ศาลยกเลิกเพิกถอนการกระทำทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายนั้นต่อไป
เอกสารบรรยายสรุปวิชากฎหมายมหาชน พันตำรวจโท อังกูร วัฒนรุ่ง 4

โดยทั่วไป กฎหมายมหาชน ได้แก่

1.)

กฎหมายรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีความหมายอย่างกว้าง คลอบคลุมทั้ง ตัวรัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญที่บัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษร และรวมถึงหลักรัฐธรรมนูญกับรัฐธรรมนูญที่ไม่ได้เป็นรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษณด้วย
2.)

กฎหมายปกครอง ซึ่งได้แก่ กฎหมายที่เป็นขอบเขตของอำนาจหน้าที่ฝ่ายปกครองในการจัดทำบริการสาธารณะ ซึ่งเป็นพันธะหน้าที่ของรัฐในฐานะที่เป็น ฝ่ายปกครอง
ในแนวความคิดทางทฤษฎีตะวันตก ถือว่า

"รัฐ" (state) เป็น "นิติบุคคล" ( ยกเว้น รัฐไทย ซึ่งตามกฎหมายมหาชนภายในรัฐไทยไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล) ซึ่งเป็นบุคคลสมมุติทางกฎหมายหรือมี "สถานะทางกฎหมาย" เสมือนบุคคล แต่รัฐเป็นเพียงนามธรรม ถึงแม้จะมีรัฐอยู่แต่รัฐก็ไม่มีตัวตน ดังนั้น รัฐจึงต้องมี "รัฐบาล" (government) เป็นผู้ใช้อำนาจรัฐแทนรัฐในนามของรัฐ
แต่สถานะของรัฐบาลนั้นมีอยู่

2 สถานะในเวลาเดียวกัน คือ
(

1) รัฐบาลในฐานะเป็น "ฝ่ายบริหาร" ( Executive ) และ
(

2) รัฐบาลในฐานะเป็น "ฝ่ายปกครอง" ( Administration )
ในสถานะ

2 ประการนี้ มีความแตกต่างกันในสาระสำคัญและมีความแตกต่างกันในระบบการควบคุมตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ซึ่งเป็นหัวข้อที่จะพูดในตอนต่อไป
3.)

ในสมัยปัจจุบันกฎหมายมหาชนยังแยกออกไปเป็น กฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจอีกสาขาวิชาหนึ่งด้วย

ในความหมายของกฎหมายมหาชน โดยเนื้อแท้แล้ว กฎหมายมหาชนเป็นเรื่องกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ รัฐ อำนาจรัฐ และกฎเกณฑ์ทางกฎหมายในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับพลเมือง ซึ่งอาจจะเป็นการกำหนดโครงสร้างองค์กรใช้อำนาจรัฐ หรือเป็นกฎเกณฑ์กำหนดระบบความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรใช้อำนาจรัฐนั้น เช่น รัฐธรรมนูญ กำหนดองค์กรผู้ใช้อำนาจรัฐ

กฎหมายการคลัง ซึ่งได้แก่ กฎหมายเกี่ยวการคลัง การงบประมาณ และกฎหมายภาษีอากร ฯลฯ เป็นต้น 3 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ
เอกสารบรรยายสรุปวิชากฎหมายมหาชน พันตำรวจโท อังกูร วัฒนรุ่ง 5

โดยกำหนดโครงสร้าง อำนาจหน้าที่ และความสัมพันธ์ว่าจะจัดระบบการใช้อำนาจรัฐนั้นอย่างไร รวมทั้งกำหนดการเข้าสู่ตำแหน่งใช้อำนาจรัฐฝ่ายต่างๆนั้น เป็นต้น

และยังรวมไปถึงการกำหนดให้มี

เหตุที่การกระทำขององค์กรและเจ้าหน้าที่ผู้ใช้อำนาจรัฐ ต้องอยู่ภายใต้

"องค์กรตรวจสอบที่เป็นอิสระ" ต่างๆ แต่ในระดับรัฐธรรมนูญนั้นจะไม่กำหนดรายละเอียดไว้แต่อย่างใด นอกจากนี้ ในความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรผู้ใช้อำนาจรัฐด้วยกัน รัฐธรรมนูญยังกำหนด "ระบบ การตรวจสอบและถ่วงดุลย์" ( Checks and Balances ) ไว้ด้วย ซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามระบบการปกครอง ของแต่ละประเทศ และการกระทำต่างๆของบรรดาองค์กรผู้ใช้อำนาจรัฐเหล่านี้ล้วนต้องอยู่ภายใต้หลักความชอบด้วยกฎหมายเช่นเดียวกัน "หลักความชอบด้วยกฎหมาย" ก็เพราะว่า การเป็นรัฐเสรีนิยมนั้น หมายถึง การเป็น "นิติรัฐ" (État de Droit) นั่นเอง
เรื่อง

"นิติรัฐ" หรือ "หลักนิติรัฐ" เป็นเรื่องสำคัญมากที่สุดในการศึกษากฎหมายมหาชน หากเป็นเรื่องของกฎหมายมหาชนในรัฐเสรีนิยมหรือรัฐในระบอบ การปกครองแบบประชาธิปไตยเสรีนิยม ( Liberal Democracy) พื้นฐานของการกระทำ ที่เป็นการใช้อำนาจรัฐทุกเรื่องล้วนตั้งอยู่ภายใต้หลักการของ "หลักนิติรัฐ" และ "หลักความชอบด้วยกฎหมาย" ทั้งสิ้น
ทั้ง

ตามทฤษฎีฝรั่งตะวันตก ถือว่า ประชาธิปไตยมีรากฐานมาจากคำว่า

แต่ความหมายดั้งเดิมของคำว่าประชาธิปไตยกับความหมายในปัจจุบัน มีความแตกต่างกันมาก เพราะ รัฐและสังคม เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา แนวความคิดจึงเปลี่ยนแปรไปตามสภาพสังคม

แนวความคิดต่างๆในปัจจุบันที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น การเลือกตั้งผู้แทน ระบบพรรคการเมือง การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน สิทธิพลเมืองแนวความคิดเรื่องรัฐชาติสมัยใหม่

"ประชาธิปไตย" ( democracy ) และ "เสรีนิยม" ( liberalism ) เป็นแนวความคิดรูปแบบหนึ่งที่เกี่ยวกับระบอบการเมืองการปกครอง ซึ่งมีประวัติศาสตร์ความคิดย้อนหลังไปมากกว่า 2,000 ปี Democratia ในการระบอบการปกครองของนครรัฐกรีก -รัฐ ผ่านวัฒนธรรมทางการเมืองการปกครองในแต่ละ ยุคแต่ละสมัย ของแต่ละประเทศ ( Modern – nation State ) แนวความคิดเรื่อง
เอกสารบรรยายสรุปวิชากฎหมายมหาชน

ประโยชน์สาธารณะ

5 4 3



...........Jackie.........
Police Lieutenant Colonel chakgrid chukong
pan tram rod trow jag grid chu kong

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น