วันอาทิตย์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2555

วิธีค้นคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลปกครองสูงสุดในเวปของศาลปกครอง (ทำรายงานอาจารย์กิจบดีครับ)

สำหรับเพื่อนๆ เลขที่ ๕๑-๑๔๗ ครับ
๑. ให้เข้าไปที่เวปไซด์ http://court.admincourt.go.th/ordered/Default.aspx
๒. แล้วกดที่ "ค้นหาขั้นสูง"
๓. กรอกหมายเลขที่ที่เราต้องการ (อาจารย์ท่านกำหนดให้เป็นเลขลำดับที่ในห้องเรียนของเรา)ในช่องแรก(ดังภาพ)
๔. กรอก พ.ศ.ในช่องต่อมาครับ (เร่ิมจาก ปี2555 ก่อนครับ ถ้าไม่มีก็เป็น 2554 หรือ 2553 ลดลงมาเรื่อยๆเดี๋ยวก็เจอครับ)
๔. จากนั้นก็กดค้นหาด้านล่างครับ ก็จะได้ดาว์นโหลดทั้ง เป็นไฟล์ WORD หรือ PDF ครับ

รายชื่อ เพื่อนๆ หัวหน้ากลุ่มย่อย ๗ กลุ่มของ โทนิติรามบางนารุ่น ๑๒ ห้อง ๑

รายชื่อ เพื่อนๆ หัวหน้ากลุ่มย่อย ๗ กลุ่มของ โทนิติรามบางนารุ่น ๑๒ ห้อง ๑
กลุ่มที่ ๑ เลขที่ ๑ - ๒๐ -นายนิธิชัย ค้ำชู
กลุ่มที่ ๒ เลขที่ ๒๑-๔๐ -นายพงศกร เชยสอาด
กลุ่มที่ ๓ เลขที่ ๔๑-๖๑ -ว่าที่ ร.ต.โฆษิต จันทราธิคุณ
กลุ่มที่ ๔ เลขที่ ๖๒-๘๒ -น.ส.ศิริเพ็ญ ณ นคร
กลุ่มที่ ๕ เลขที่ ๘๓-๑๐๓ -นายจักรพันธ์ พุทธวงศ์
กลุ่มที่ ๖​ เลขที่ ๑๐๔-๑๒๔ -นายชาญวิทย์ กันยา
กลุ่มที่ ๗ เลขที่ ๑๒๕-๑๔๕ -นายจักรพันธ์ รักพงษ์พันธ์







JACKIE.......
พันตำรวจโทจักรกฤช ชูคง
รอง ผกก. ฝ่ายปกครอง ๑ บก.ปค.

วันเสาร์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2555

9-6-55 13.05-17.00

9-6-55 13.05-17.00
ดร.กิจบดี
-ระบบศาล
ระบบศาลเดี่ยว ประชาชน ประชาชน ศาลยุติธรรม
ประชาชน เจ้าหน้าที่
ระบบศาลคู่

-Model
ครอบครัว ชุมชน เมือง
ชาย หัวหน้า เจ้าเมือง
สัญชาตญาณ จารีต กฏหมาย
. .-การแบ่งแยกอำนาจเพื่อให้เกิดการถ่วงดุลและตรวจสอบ ระหว่างอำนาจทั้ง ๓ มิให้อำนาจใดอำนาจหนึ่งได้อย่างอิสระจะต้องขึ้นอยู่กับอีกอำนาจหรือการใช้อำนาจของแต่ละอำนาจจนต้องตรวจสอบได้
. .-เพื่อรักษาสิทธิเสรีภาพและประโยชน์ของประชาชนจากการใช้อำนาจของผู้ปกครอง
(หัวใจของ ข้อสอบคือ ปรัชญาและหลักกฎหมายของกฎหมายมหาชน)
. .-จากหลักการแบ่งแยกอำนาจได้พัฒนาเป็นระบอบประชาธิปไตย ระบอบประชาธิปไตยมี ๓ ระบบด้วยกัน
. .๑.ระบบรัฐสภา มีอังกฤษเป็นแม่แบบ
. .๒.ระบบประธานาธิบดี มี สหรัฐอเมริกา
. .๓.ระบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา มีฝรั่งเศสเป็นแม่แบบ
ระบอบประชาธิปไตยไม่ว่าระบบใด มีหลักการเดียวกัน คือ
. .๑."หลักของความเสมอภาค" หมายความว่า มนุษย์ทุกคนเกิดมาเท่าเทียมกัน ปัญหาคือระบบอุปถัมภ์ในบ้านเรา
. .๒."หลักการมีส่วนร่วม" หมายความว่า ผู้ที่จะเข้าไปใช้อำนาจทางปกครอง ต้องได้รับความเห็นชอบของประชาชน จึงเกิดกระบวนการเลือกตั้ง
. .๓."หลักการใช้อำนาจ" เมื่อได้อำนาจมาแล้วต้องใช้อำนาจนั้นเพื่อการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
. .๔."หลักการตรวจสอบ" หมายความว่า การใช้อำนาจต้องสามารถควบคุมและสามารถตรวจสอบได้ (อ่านในพระราชกฤษฏีกาว่าด้วยการบริหารบ้านเมืองที่ดี ๒๕๔๖ และใช้สอบได้ด้วยและใช้ในการทำรายงานได้ด้วย ในนั้นบอกถึงหลักการใช้อำนาจ หลักต่างๆ หลักความทั่วถึง หลักมีคุณค่า )
อธิบาย
. .-จากหลักการแบ่งแยกอำนาจ และหลักการของระบอบประชาธิปไตย ได้ถูกนำมารวมกันเรียกว่า หลักนิติรัฐ
. .-หลักนิติรัฐคือ หลักการปกครองโดยกฎหมาย (ไม่ใช่กฎหมายเป็นใหญ่) กม.ต้องมาจากประชาชน มาด้วยความถูกต้อง การใช้อำนาจในทางปกครอง ในทุกระดับจะต้องมีกฎหมายบัญญัติให้ อำนาจและหน้าที่ไว้ และการใช้อำนาจหน้าที่ดังกล่าวจะต้องตรวจสอบได้ด้วยประโยชน์สุดท้ายคือประชาชน
. .-จากหลักการต่างๆที่กล่าวมา ถูกนำไปใช้เป็น แนวทางในการร่างรัฐธรรมนูญของระบอบประชาธิบไตย (๔ หลักการที่สำคัญ)
. .๑.หลักการแบ่งแยกอำนาจ ประชาชน
. .๒.หลักความเสมอภาค
. .๓.หลักการมีส่วนรวม (ให้เลิกโกง ให้มีความสำนึกของผู้)
. .๔.หลักการใช้อำนาจ - ใช้เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของส่วนรวม
. .๕.หลักการตรวจสอบ
. .-เมื่อก่อน การปกครองระบอบสมบูรณายสิทธิราช --->ประชาชนถูกข่มเหงรังแก การรักษาสิทธิเสรีภาพและประโยชน์ของประชาชน นี้คือ ปรัชญาของกฎหมายมหาชน หลักการแบ่งแยกอำนาจ ๓ อย่าง เพื่อให้แต่ละอำนาจตรวจสอบและถ่วงดุลกันได้ เพื่อจุดมุ่งหมายปลายทางนี้ ----- พัฒนาเป็นระบอบประชาธิปไตย ไม่ว่า อังกฤษ อเมริกา ฝรั่งเศส มีหลักการ ๓ อย่าง
รวมเรียกว่าหลักนิติรัฐ เพื่อจุดหมายคือประชาชน แล้วนำหลักการทั้งหมดมาร่างเป็นระบอบประชาธิปไตย

กม.รัฐธรรมนูญ
. .-ดูอำนาจปกครองในรัฐธรรมนูญ
. .ศาลใช้อำนาจตุลาการ
. .รัฐสภาใช้อำนาจนิติบัญญัติ
. .คณะรัฐมนตรีใช้อำนาจบริหาร นรม.๑ , รมต.ไม่เกิน ๓๕นาย กำกับดูแล ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น
. .-ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเป็นเรื่องการบังคับบัญชา
. .-ส่วนท้องถิ่น เป็นการกำกับดูแลให้เป็นไปตามกฎหมายเท่านั้น
. .อำนาจนิติบัญญัติ มาตรา ๘๘ มี สส.๕๐๐ และ สว.๑๕๐ รวมเป็นรัฐสภา
. .-ที่มาของแต่ละอำนาจ
. .-อำนาจนิติบัญญัติ ใช้หลักความเสมอภาค มาจากการเลือกตั้งของหลักความมีส่วนร่วม เลือกตั้งชอบด้วยกฏหมายหรือไม่
. .-อำนาจบริหาร นายกฯต้องมาจากการเลือกตั้งหรือ สส. ต้องไม่ขัดต่อหลักความชอบด้วยกฏหมายคือ คุณสมบัติ,อายุ,ไม่มีประวัติในการต้องโทษ การที่เราจะเข้าไปสู่อำนาจกระบวนการที่มาต้องชอบด้วยกฏหมาย
(ข้อสอบ กฎหมายมหาชนเป็นอย่างไร กฎหมายมหาชนใช้อย่างไร)
. .-








JACKIE.......
พันตำรวจโทจักรกฤช ชูคง
รอง ผกก. ฝ่ายปกครอง ๑ บก.ปค.

วันอังคารที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555

หัวข้อระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี

http://www.copthailand.com/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%88/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%94%E0%B8%B5.html


ระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี

ลักษณะที่  1  ความประพฤติและระเบียบวินัย

·          บทที่ 1  ความประพฤติและระเบียบวินัย

·          บทที่ 2  การลงทัณฑ์

·          บทที่ 3  การตั้งกรรมการและการสอบสวนเมื่อกระทำผิดต่อวินัยตำรวจ

·          บทที่ 4  การพิจารณาทัณฑ์การกระทำผิดในบางกรณี

·          บทที่ 5  การร้องทุกข์ตามวินัยตำรวจ

·          บทที่ 6  การคุมขังและใช้งานตำรวจที่ต้องทัณฑ์

·          บทที่ 7  การลงโทษตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน

·          บทที่ 8  การสอบสวนความผิดต่อวินัยข้าราชการพลเรือน

·          บทที่ 9  การตั้งกรรมการสอบสวนร่วมกัน

·          บทที่ 10  การอุทธรณ์คำสั่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน

·          บทที่ 11  การพักราชการ

·          บทที่ 12  วิธีปฏิบัติเมื่อข้าราชการตำรวจกระทำผิดทางอาญา

·          บทที่ 13  การรายงานเมื่อต้องคดี

·          บทที่ 14  การกันข้าราชการตำรวจผู้ร่วมกระทำผิดเป็นพยาน

·          บทที่ 15  การใช้แบบพิมพ์ การเรียงลำดับเอกสาร การให้หมายเลขเอกสารในสำนวนสอบสวนทางวินัยฯ

·          บทที่ 16  การสืบสวนข้อเท็จจริง

ลักษณะที่  2  การปกครองบังคับบัญชา

ลักษณะที่  3  การรับสมัคร

·          บทที่ 1  หลักทั่วไปว่าด้วยการรับสมัครบุคคลเข้ารับราชการตำรวจ

·          บทที่ 2  รับสมัครทหารกองหนุนเป็นข้าราชการตำรวจ

·          บทที่ 3  รับสมัครต่อจากวันครบกำหนดปลดกองหนุน

·          บทที่ 4  รับสมัครเพื่อบรรจุและแต่งตั้งหลังจากวันครบกำหนดปลดจากกองประจำการเป็นทหารกองหนุน

ลักษณะที่  4  การบรรจุ

·          บทที่ 1  หลักเกณฑ์ทั่วไปว่าด้วยการบรรจุข้าราชการตำรวจ

 บทที่ 2  การบรรจุผู้ได้รับปริญญา อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ

 บทที่ 3  การคัดเลือกพลตำรวจเพื่อบรรจุเป็นสิบตำรวจตรี 

 บทที่ 4  การบรรจุข้าราชการที่ออกจากราชการไปแล้วกลับเข้ารับราชการ

 บทที่ 5  การคัดเลือกนายดาบตำรวจและจ่าสิบตำรวจเข้าฝึกอบรมหลักสูตรข้าราชการตำรวจชั้นประทวน

 บทที่ 6  การพิจารณาคัดเลือกจ่าสิบตำรวจเพื่อแต่งตั้งให้มียศเป็นนายดาบตำรวจ

 บทที่ 7  การบรรจุบุคคลผู้มีความสามารถด้านกีฬา เข้ารับราชการหรือศึกษาอบรมในสถานศึกษากรมตำรวจ

·          

ลักษณะที่  5  การแต่งตั้ง

·          บทที่ การแต่งตั้งข้าราชการตำรวจ

·          บทที่ การแต่งตั้งผู้รักษาการในตำแหน่ง การรักษาราชการแทน และการปฏิบัติราชการแทน

·          บทที่ การสั่งให้ประจำการและให้สำรองราชการ

·          บทที่ การสั่งให้ข้าราชการตำรวจไปประจำที่อื่นชั่วคราวจากที่ได้สั่งแต่งตั้งไว้เดิม

ลักษณะที่  6  การเกณฑ์และการปลดตำรวจ

·          บทที่ หลักเกณฑ์ทั่วไปว่าด้วยการเกณฑ์และการปลดตำรวจ

·          บทที่ การขอเรียกและส่งคนเข้าเป็นทหารและตำรวจกองประจำการ

·          บทที่ การเขียนสมุดระดมพลและจ่ายสมุดประจำตัวตำรวจนอกกองประจำการ

·          บทที่ การออกใบสำคัญทหารนอกประจำการแทนฉบับที่หาย

·          บทที่ 5  การนำบุคคลที่สมัครเข้ารับราชการตำรวจอยู่แล้วขึ้นทะเบียนเป็นตำรวจกองประจำการ

·          บทที่ การผ่อนผันบุคคลที่อยู่ในระหว่างการศึกษา

·          บทที่ บันทึกข้อตกลงระหว่าง กห. กับ กท.  ในระเบียบการอันเกี่ยวกับ พ.ร.บ.รับราชการทหาร พ.ศ. 2497

·          บทที่ ระเบียบวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสมุดประจำตัวทหารกองหนุนประเภท สำหรับตำรวจ

·          บทที่ การปลดข้าราชการตำรวจเป็นทหารกองหนุนประเภทที่ 2

ลักษณะที่  7  ยศและบรรดาศักดิ์

·          บทที่ การออกประทวนยศ

·          บทที่ การขอพระราชทานยศ

·          บทที่ 3  การถอดยศและบรรดาศักดิ์

·          บทที่ การขอพระราชทานยศให้แก่จ่าสิบตำรวจและนายดาบตำรวจที่เกษียณอายุเป็นร้อยตำรวจตรี

ลักษณะที่  8  การโอน

ลักษณะที่  9  การออกจากราชการ

·          บทที่ หลักทั่วไปว่าด้วยการออกจากราชการ

·          บทที่ การมอบหมายอำนาจการสั่งไล่ออก ปลดออก ให้ออก หรือพักราชการ และลาออกจากราชการ

·          บทที่ วันออกจากราชการของข้าราชการตำรวจ

·          บทที่ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาข้าราชการตำรวจที่รับราชการตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป ออกจากราชการ

·          บทที่ หลักเกณฑ์การพิจารณาข้าราชการสังกัดกรมตำรวจที่หย่อนความสามารถสมควรให้ออกจากราชการ

·          บทที่ การขอต่ออายุราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตร

·          บทที่ การจ้างข้าราชการที่ครบเกษียณอายุไว้รับราชการต่อ

ลักษณะที่  10  เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญตรา

·          บทที่ การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์

·          บทที่ ระเบียบว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์

·          บทที่ การขอเหรียญจักรพรรดิมาลาและเหรียญจักรมาลา

·          บทที่ การขอเหรียญราชนิยมและเหรียญกาชาดสรรเสริญ

·          บทที่ การขอพระราชทานเหรียญกล้าหาญ เหรียญชัยสมรภูมิ

·          บทที่ การขอพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา

·          บทที่ ลำดับเกียรติของเครื่องราชอิสริยาภรณ์

·          บทที่ ราคาเครื่องราชอิสริยาภรณ์

·          บทที่ การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ชาวต่างประเทศ

·          บทที่ 10  การเรียกเครื่องราชอิสริยาภรณ์คืนจากผู้ได้รับพระราชทาน

·          บทที่ 11  การทำพิธีมอบเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ข้าราชการตำรวจ

·          บทที่ 12  เหรียญตราต่างประเทศที่จะต้องขอพระบรมราชานุญาตประดับ

·          บทที่ 13  การเข้าเฝ้ารับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์

·          บทที่ 14  ระเบียบว่าด้วยการขอพระราชทาน การประดับ และกรณีที่ให้ประดับเหรียญพิทักษ์เสรีชน

·          บทที่ 15  การขอพระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา

 

ลักษณะที่  11  การศึกษา การฝึกอบรม

 

·          บทที่ การรับสมัครบุคคลเข้าเป็นนักเรียนพลตำรวจ

·          บทที่ หลักสูตรสำหรับฝึกและอบรมพลตำรวจ

·          บทที่ หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตำรวจหญิงที่มียศชั้นพลตำรวจ

·          บทที่ โรงเรียนนายสิบตำรวจ

·          บทที่ ข้อบังคับโรงเรียนนายร้อยตำรวจ

·          บทที่ ระเบียบการแข่งขันยิงเป้าสำหรับนักเรียนนายร้อยตำรวจ

·          บทที่ การฝึกวิชาทหารสำหรับตำรวจและแบบฝึกขี่ม้าสำหรับหน่วยตำรวจม้า

·          บทที่ การฝึกซ้อมยิงเป้าด้วยกระสุนจริง

·          บทที่ การฝึกและอบรมของพลตำรวจเกณฑ์

·          บทที่ 10  การฝึกพลศึกษาและกีฬาของกรมตำรวจ

·          บทที่ 11  หลักสูตรฝึกอบรมข้าราชการตำรวจและบุคคลที่บรรจุหรือโอนเป็นชั้นประทวนและชั้นพลตำรวจ

·          บทที่ 12  การฝึกและอบรมตำรวจซึ่งเอกชนจ้างไปรักษาการณ์

·          บทที่ 13  การฝึกและอบรมตำรวจประจำวัน ณ สถานีตำรวจ

·          บทที่ 14  การฝึกอบรมพื้นฐานสำหรับข้าราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตร

·          บทที่ 15  ระเบียบการฝึกอบรมหลักสูตรรองสารวัตรปกครองป้องกันและรองสารวัตรสืบสวนสอบสวน

·          บทที่ 16  การอบรมศีลธรรมและความรู้ข้าราชการตำรวจ

·          บทที่ 17  ให้ทุนไปศึกษาวิชาในต่างประเทศและการรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในต่างประเทศเป็นข้าราชการตำรวจ

·          บทที่ 18  ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตำรวจรถไฟ

·          บทที่ 19  ("บทที่ 19" ทั้งบท ยกเลิกโดยระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติฯ ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2542)

·          บทที่ 20  การจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการใต้น้ำและระเบียบการคัดเลือกผู้ปฏิบัติงาน

·          บทที่ 21  ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมพนักงานวิทยุสื่อสาร และช่างวิทยุของกรมตำรวจ

·          บทที่ 22  ระเบียบและหลักสูตรการอบรมวิชาเกี่ยวกับการพิมพ์ลายนิ้วมือ

·          บทที่ 23  หลักสูตรการฝึกยิงปืนพกแบบ พี พี ซี  ระบบ เอฟ บี ไอ

·          บทที่ 24  ระเบียบและหลักสูตรการฝึกชัยยะ

·          บทที่ 25  ระเบียบและหลักสูตรการโดดร่ม

·          บทที่ 26  ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตำรวจที่ทำหน้าที่การเงิน

·          บทที่ 27  ระเบียบและหลักสูตรการต่อต้านปราบปรามการก่อความไม่สงบ

·          บทที่ 28  ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมพนักงานขับรถยนต์

·          บทที่ 29  ว่าด้วย การศึกษาของข้าราชการตำรวจในสถานศึกษาในประเทศ

·          บทที่ 30  ระเบียบและหลักสูตรวิชาการพยาบาลภาคสนาม

·          บทที่ 31  ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมวิชาครูสำหรับตำรวจ

·          บทที่ 32  ระเบียบและหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ สำนักงานแพทย์ใหญ่

·          บทที่ 33  ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมวิชาการสืบสวนระดับนายสิบตำรวจ

·          บทที่ 34  ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมนายตำรวจชั้นสัญญาบัตรหลักสูตรสารวัตร

·          บทที่ 35  การฝึกบินเปลี่ยนแบบของนักบินประจำกองและครูการบินการฝึกบินเปลี่ยนแบบ

·          บทที่ 36  ว่าด้วย  ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมการทำลายวัตถุระเบิด กรมตำรวจ

·          บทที่ 37  ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมนายตำรวจชั้นสัญญาบัตรหลักสูตรผู้กำกับการ

·          บทที่ 38  ระเบียบและหลักสูตรการควบคุมฝูงชน

·          บทที่ 39  เข้าศึกษาหลักสูตรช่างซ่อมบำรุงอากาศยานขั้นมูลฐานพิเศษ ณ ศูนย์ฝึกการบินพลเรือนในไทย

·          บทที่ 40  การฝึกอบรมพลตำรวจนครบาลและตำรวจภูธร

·          บทที่ 41  ระเบียบและหลักสูตรการฝึกอบรมกองร้อยปฏิบัติการพิเศษของกรมตำรวจ

·          บทที่ 42  ระเบียบและหลักสูตรผู้ช่วยพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลตำรวจ สำนักงานแพทย์ใหญ่ กรมตำรวจ

·          บทที่ 43  หลักสูตรการฝึกยิงปืนพกสั้นในระบบต่อสู้และป้องกันตัวใต้สภาวะความกดดัน

·          บทที่ 44  หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตำรวจฯ โอนเป็นชั้นประทวน และชั้นพลตำรวจ (สายธุรการ)

·          บทที่ 45  การให้ข้าราชการตำรวจไปศึกษาในต่างประเทศโดยทุนส่วนตัว

·          บทที่ 46  การให้ข้าราชการตำรวจและนักเรียนนายร้อยตำรวจรับทุนไปศึกษา ฝึกอบรม ปฏิบัติการวิจัย

·          บทที่ 47  การวิจัย ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยของโรงเรียนนายร้อยตำรวจ  พ.ศ. 2538

 

ลักษณะที่  12  หน้าที่การงานของตำแหน่งงานต่าง ๆ

 

·          บทที่ หน้าที่เสมียนประจำวัน

·          บทที่ หน้าที่เสมียนพิเศษ

·          บทที่ หน้าที่จ่ากองร้อย

·          บทที่ หน้าที่พนักงานสารบรรณ

·          บทที่ หน้าที่พนักงานรับ-ส่ง และเก็บหนังสือ

·          บทที่ หน้าที่พนักงานพิมพ์

·          บทที่ หน้าที่พนักงานทะเบียนพล

·          บทที่ หน้าที่พนักงานประวัติ

·          บทที่ หน้าที่พนักงานพลาธิการ (พัสดุ)

·          บทที่ 10  หน้าที่สมุห์บัญชี

·          บทที่ 11  หน้าที่พนักงานคดีบัญชีโจรผู้ร้าย

·          บทที่ 12  หน้าที่นายแพทย์และนายสิบพยาบาล

·          บทที่ 13  หน้าที่ภารโรง

·          บทที่ 14  หน้าที่การเลี้ยงม้า

·          บทที่ 15  หน้าที่หัวหน้ากิ่งสถานีตำรวจนครบาล

·          บทที่ 16  หน้าที่สารวัตรปกครองป้องกัน สารวัตรสืบสวนและสอบสวนสารวัตรจราจร

·          บทที่ 17  หน้าที่สารวัตรตำรวจนครบาล

·          บทที่ 18  หน้าที่สารวัตรใหญ่ตำรวจนครบาล

·          บทที่ 19  หน้าที่ผู้กำกับการตำรวจนครบาล

·          บทที่ 20  หน้าที่ผู้บังคับการตำรวจนครบาล

·          บทที่ 21  หน้าที่หัวหน้าสถานีตำรวจภูธรตำบล

·          บทที่ 22  หน้าที่หัวหน้าสถานีตำรวจภูธรและหัวหน้าสถานีตำรวจภูธรกิ่งอำเภอ

·          บทที่ 23  หัวหน้าสารวัตรใหญ่สถานีตำรวจภูธรหรือสารวัตรสถานีตำรวจ ภูธรอำเภอ

·          บทที่ 24  หน้าที่ผู้กำกับการตำรวจภูธรจังหวัด

·          บทที่ 25  หน้าที่ผู้บังคับการตำรวจภูธร

·          บทที่ 26  หน้าที่ผู้ดำรงตำแหน่งรองหรือผู้ช่วย

·          บทที่ 27  หน้าที่นายเวร

·          บทที่ 28  หน้าที่ผู้บัญชาการตำรวจนครบาล

·          บทที่ 29  หน้าที่ผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง

·          บทที่ 30  หน้าที่ผู้บัญชาการตำรวจภูธร

·          บทที่ 31  หน้าที่ผู้บัญชาการศึกษา

·          บทที่ 32  หน้าที่จเรตำรวจ

·          บทที่ 33  หน้าที่รองอธิบดีและผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ

·          บทที่ 34  หน้าที่การงานของตำแหน่งต่าง ๆ ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจ ตระเวนชายแดน

 

ลักษณะที่  13  ประวัติ

 

·          บทที่ การจัดทำและเก็บรักษาหลักฐานทางทะเบียนประวัติ

·          บทที่ หลักเกณฑ์การบันทึกความดีความชอบและราชการพิเศษ

·          บทที่ การควบคุมเกษียณอายุของข้าราชการ

 

ลักษณะที่  14  การเลื่อนเงินเดือนและจรรยาบรรณ

 

·          บทที่ การพิจารณาให้บำเหน็จความชอบกรณีพิเศษ

·          บทที่ การทำจรรยาบรรณ

·          บทที่ การบรรจุข้าราชการตำรวจที่สอบได้คะแนนดีมาก

 

ลักษณะที่  15  การรับและการส่งมอบหน้าที่

 

·          บทที่ การรับและการส่งมอบหน้าที่

·          บทที่ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับส่งงานในหน้าที่ราชการ พ.ศ. 2524

 

ลักษณะที่  16  การไว้พระสวดมนต์สำหรับตำรวจ

ลักษณะที่  17  การเคารพกองเกียรติยศ

 

·          บทที่ วิเคราะห์ศัพท์

·          บทที่ บุคคลหรือสิ่งซึ่งจะต้องแสดงความเคารพ

·          บทที่ การเคารพเมื่ออยู่ตามลำพัง

·          บทที่ การเคารพในเรือยนต์หรือเรือกลไฟที่ใช้ในราชการตำรวจ

·          บทที่ การเคารพในเรือพาย

·          บทที่ การเคารพเมื่ออยู่ในความควบคุม

·          บทที่ การเคารพของตำรวจยาม

·          บทที่ วิธีแสดงความเคารพ

·          บทที่ มรรยาทในการเคารพ

·          บทที่ 10  การยกเว้นและการผ่อนผัน

·          บทที่ 11  การบรรเลงเพลงเคารพ

·          บทที่ 12  กองเกียรติยศ

·          บทที่ 13  การเคารพของกองรักษาการณ์

·          บทที่ 14  ระเบียบเกี่ยวกับธงประจำกองตำรวจ

 

ลักษณะที่  18  การจ้างตำรวจรักษาการณ์

ลักษณะที่  19  การถึงแก่กรรมและการฌาปนกิจ

 

·          บทที่ หลักทั่วไป  ว่าด้วยการถึงแก่กรรมและการฌาปนกิจ

·          บทที่ การประกอบพิธีฌาปนกิจศพข้าราชการตำรวจ

·          บทที่ หลักเกณฑ์การบรรจุอิฐพร้อมทั้งจารึกชื่อข้าราชการตำรวจที่เสียชีวิตในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ

 

ลักษณะที่  20  การแพทย์และการพยาบาล

 

·          บทที่ การเบิกจ่าย  การเก็บรักษา  พัสดุทางการแพทย์ของหลวงและการแจ้งสถิติ

·          บทที่ การรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาลของกรมตำรวจทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

·          บทที่ การเยี่ยมผู้ป่วยในโรงพยาบาลตำรวจ

·          บทที่ ส่งตัวผู้ป่วยบาดเจ็บหรือป่วยหนักโดยหน้าที่รักษาตัวยังโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลอื่น

·          บทที่ การตรวจโรคแก่ข้าราชการตำรวจประจำปี

·          บทที่ การช่วยเหลือข้าราชการประจำในเรื่องการรักษาพยาบาล

·          บทที่ ระเบียบของสถาบันนิติเวชวิทยา

·          บทที่ สถานที่พักฟื้น

·          บทที่ การรักษาพยาบาลข้าราชการตำรวจ  ซึ่งได้รับอันตรายหรือป่วยเจ็บเพราะเหตุกระทำตามหน้าที่

·          บทที่ 10  ว่าด้วยการช่วยเหลือข้าราชการตำรวจ ลูกจ้างประจำ ผู้ได้รับบำนาญของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

 

ลักษณะที่  21  การลา

 

·          บทที่ ระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ

·          บทที่ การปฏิบัติเกี่ยวกับการลา

·          บทที่ การลาไปต่างประเทศ

·          บทที่ การลาพักของตำรวจที่ขอเรียกเข้ากองประจำการเกินอัตรา

·          บทที่ การลาปลีกของข้าราชการชาวต่างประเทศ

·          บทที่ การลาออกจากราชการ

·          บทที่ กำชับการลา

 

ลักษณะที่  22  การแต่งเครื่องแบบ

 

·          บทที่ ลักษณะทั่วไป

·          บทที่ สีของเครื่องแบบ

·          บทที่ การแต่งเครื่องแบบ

·          บทที่ การใช้อินทรธนู

·          บทที่ การใช้รองเท้าและสนับแข้ง

·          บทที่ การใช้ปลอกแขนทุกข์

·          บทที่ โอกาสที่ใช้กระบี่และถุงมือ

·          บทที่ การแต่งเครื่องแบบของนักเรียนตำรวจ

·          บทที่ การประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์

·          บทที่ 10  โอกาสใช้หมวกต่าง ๆ และสายรัดคาง

·          บทที่ 11  การถือหมวก

·          บทที่ 12  การใช้เข็มขัด

·          บทที่ 13  การพกอาวุธปืน  ดาบปลายปืน และตะบอง

·          บทที่ 14  การใช้สายนกหวีด

·          บทที่ 15  การประดับเครื่องหมายหรือครุยประดับเกียรติ

·          บทที่ 16  การแต่งเครื่องแบบของตำรวจนอกราชการ

·          บทที่ 17  การแต่งเครื่องแบบของผู้เข้ารับการอบรมเป็นตำรวจชั้นสัญญาบัตร

·          บทที่ 18  เครื่องแบบนางพยาบาลตำรวจ

·          บทที่ 19  เครื่องแบบตำรวจผู้ทำหน้าที่เสิร์ฟอาหาร

·          บทที่ 20  เครื่องแบบพิเศษ

·          บทที่ 21  เครื่องหมายแสดงความสามารถการบินและหลักเกณฑ์ การประดับของตำรวจที่ทำหน้าที่นักบิน

·          บทที่ 22  การประดับเครื่องหมายซึ่งมิใช่ส่วนประกอบเครื่องแบบ

·          บทที่ 23  เครื่องหมายแสดงความสามารถในการทำการในอากาศ และหลักเกณฑ์การประดับ

·          บทที่ 24  หลักเกณฑ์การประดับเครื่องหมายเชิดชูเกียรติแสดงความสามารถของนักทำลายวัตถุระเบิด

·          บทที่ 25  ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย เครื่องแบบลูกจ้างประจำ พ.ศ. 2527

·          บทที่ 26  การมอบแหนบรูปกระเป๋ากระสุนคันชีพเครื่องแบบเต็มยศนักเรียนนายร้อยตำรวจ

·          บทที่ 27  เครื่องหมายเชิดชูเกียรติ  บช.น.

 

ลักษณะที่  23  การปฏิบัติราชการ

 

·          บทที่ กำหนดเวลาทำงานและวันหยุดราชการ

·          บทที่ การลงชื่อ  และเวลาทำราชการของข้าราชการตำรวจ

·          บทที่ การทำบัญชีรายวันรับราชการ

·          บทที่ การปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ

·          บทที่ หลักการปฏิบัติราชการแผ่นดิน

·          บทที่ แนวทางปฏิบัติต่อชาวต่างประเทศเพื่อนบ้านของตำรวจที่ปฏิบัติการอยู่ชายแดน

·          บทที่ การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการ

·          บทที่ ห้ามมิให้เลี้ยงนักเลงอันธพาล

·          บทที่ การช่วยเหลือประชาชนในหน้าที่ของตำรวจ

·          บทที่ 10  วิธีปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่สงบขึ้นในระหว่างการลาหรือไปราชการ

·          บทที่ 11  ตำรวจภูธรควบคุมทางปฏิบัติการตำรวจอื่นในเขตอำนาจรับผิดชอบและพื้นที่ปกครอง พ.ศ. 2523

·          บทที่ 12  ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี  ว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการและการประชุม พ.ศ. 2524

·          บทที่ 13  ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยกองทุนพัฒนาชนบท  พ.ศ. 2527

·          บทที่ 14  การประสานงานด้านสาธารณูปโภค

·          บทที่ 15  ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการขอพระราชทานเชิญเสด็จพระราชดำเนินเชิญเสด็จ

·          บทที่ 16  ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชนของหน่วยงานรัฐ  พ.ศ. 2532

·          บทที่ 17  ว่าด้วยขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ เพื่อประชาชนของกรมตำรวจ

·          บทที่ 18  ว่าด้วยการวางแผน

·          บทที่ 19  ขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชนของสถานีตำรวจ

 

ลักษณะที่  24  บัตร

 

·          บทที่ บัตรประจำตัว

·          บทที่ การใช้สมุดพกของเจ้าพนักงานตำรวจ

·          บทที่ สมุดบันทึกของหัวหน้าส่วนราชการในกรมตำรวจ

·          บทที่ บัตรโดยสารยานพาหนะต่าง ๆ (เว้นรถราง)

·          บทที่ บัตรตรวจในโรงมหรสพ

·          บทที่ บัตรโดยสารรถราง

·          บทที่ บัตรลดราคาโดยสารรถไฟแก่บุคคลที่ถูกเกณฑ์เป็นตำรวจ

·          บทที่ บัตรลดราคาโดยสารรถไฟสำหรับตำรวจใหม่

·          บทที่ บัตรประจำตัวผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิและทายาท

·          บทที่ 10  บัตรประจำตัวผู้ได้รับพระราชทานเหรียญราชการชายแดน  พ.ศ. 2511

·          บทที่ 11  บัตรประจำตัวผู้ป่วยที่มาติดต่อกับโรงพยาบาลตำรวจ

·          บทที่ 12  บัตรประจำตัวประชาชน

·          บทที่ 13  พนักงานเจ้าหน้าที่และพนักงานตรวจบัตร

·          บทที่ 14  ระเบียบกระทรวงกลาโหม บัตรประจำตัวพนักงาน ซึ่งมีหน้าที่ช่วยราชองครักษ์ พ.ศ.2522

·          บทที่ 15  ระเบียบกระทรวงมหาดไทย บัตรประจำตัวลูกจ้างประจำสังกัดกระทรวงมหาดไทย  พ.ศ. 2525

·          บทที่ 16  บัตรประจำตัวลูกจ้างประจำในส่วนราชการ สังกัดกรมตำรวจ

 

ลักษณะที่  25  หน้าที่เวรยามหมู่ตรวจท้องที่และกองรักษาการณ์

 

·          บทที่ การจัดเวรยามรักษาการณ์

·          บทที่ การวางยาม

·          บทที่ ความประพฤติและหน้าที่ของตำรวจยามโดยทั่ว ๆ ไป

·          บทที่ การตรวจยาม

·          บทที่ หน้าที่ยามประจำสถานีตำรวจ

·          บทที่ ยามประจำตู้ยาม

·          บทที่ ยามคลังเงิน

·          บทที่ หน้าที่ยามอารักขาสถานีส่งข่าวสารต่าง ๆ

·          บทที่ หน้าที่ยามอื่น ๆ และยามหน้าที่พิเศษ

·          บทที่ 10  หมู่ตรวจท้องที่

·          บทที่ 11  กองรักษาการณ์ทั่วไป

·          บทที่ 12  ระเบียบของกองรักษาการณ์ทั่วไปของตำรวจนครบาล

·          บทที่ 13  กองรักษาการณ์พระราชฐานจิตรลดาระโหฐาน

·          บทที่ 14  กองรักษาการณ์วังสระปทุม

·          บทที่ 15  กองรักษาการณ์กรมตำรวจ

·          บทที่ 16  ระเบียบการรักษาการณ์วังปารุสกวัน

·          บทที่ 17  หน้าที่นายสิบตำรวจเวร

·          บทที่ 18  หน้าที่นายร้อยตำรวจ

·          บทที่ 19  การจัดเวรยามประจำสถานที่ราชการ

·          บทที่ 20  การตรวจท้องที่ชายแดน

·          บทที่ 21  เวรสอบสวนคดี

·          บทที่ 22  การรักษาความปลอดภัยสำหรับองค์พระมหากษัตริย์  พระราชินี  พระรัชทายาท ฯ

·          บทที่ 23  ระเบียบการถ่ายภาพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ

·          บทที่ 24  ระเบียบกรมราชองครักษ์ ว่าด้วยการจัดขบวนรถยนต์พระที่นั่งและข่ายวิทยุถวายความปลอดภัย

·          บทที่ 25  ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยสำหรับองค์พระมหากษัตริย์ ฯ

·          บทที่ 26  การจัดเวรเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทและรับหรือส่งเสด็จพระราชดำเนิน ฯ

 

ลักษณะที่  26  การตรวจท้องที่ในเขตตำรวจนครบาลและระเบียบการปฏิบัติงานของรถวิทยุตำรวจ

 

·          บทที่ การตรวจตราป้องกันท้องที่กรุงเทพมหานคร

·          บทที่ ระเบียบการปฏิบัติงานของรถวิทยุ

·          บทที่ เครื่องสัญญาณแจ้งอันตราย

 

ลักษณะที่  27  อาณัติสัญญาณ

ลักษณะที่  28  การรายงานประจำปี

ลักษณะที่  29  ความลับ

 

·          บทที่ ข้อราชการอันพึงสงวนเป็นความลับ

·          บทที่ การรักษาความลับในราชการ

·          บทที่ ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ

·          บทที่ การรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ เกี่ยวกับการจ้างเอกชนทำการสำรวจและทำแผนที่ พ.ศ. 2544

·          บทที่ ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติเกี่ยวกับการสื่อสาร พ.ศ. 2525

 

ลักษณะที่  30  การแถลงข่าวหรือให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์

ลักษณะที่  31  รักษาความสะอาดสถานที่ราชการและเข้าพักอาศัยในอาคารบ้านพักสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

ลักษณะที่  32  การพิมพ์ลายนิ้วมือ

 

·          บทที่ ระเบียบปฏิบัติ  การพิมพ์ลายนิ้วมือ  ผู้ต้องหา จำเลย ผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักขัง  ผู้ถูกกักกัน และศพ

·          บทที่ ระเบียบการพิมพ์ลายนิ้วมือขออนุญาตต่าง ๆ

·          บทที่ ระเบียบการพิมพ์ลายนิ้วมือผู้ขอสมัครเข้ารับราชการ หรือเข้าทำงานเทศบาล  สุขาภิบาล

·          บทที่ การคัดแยกแผ่นพิมพ์ลายนิ้วมือ และบัญชีประวัติออกจากสารบบหรือฐานข้อมูลประวัติอาชญากร

 

ลักษณะที่  33  น้ำมันเชื้อเพลิง

 

·          บทที่ ข้อความเบื้องต้น

·          บทที่ การอนุญาตและตรวจตราสถานที่เก็บและจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิงในจังหวัดกรุงเทพมหานคร

·          บทที่ ตั้งกรรมการพิจารณาสถานที่เก็บรักษาน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดน่ากลัวอันตรายในเขตกรุงเทพมหานคร

·          บทที่ การเก็บรักษาน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดน่ากลัวอันตรายในจังหวัดกรุงเทพมหานคร

·          บทที่ การป้องกันอัคคีภัยอันจะเกิดจากน้ำมันเชื้อเพลิง

·          บทที่ การอนุญาตและตรวจตราสถานที่เก็บและจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิงในส่วนภูมิภาค

·          บทที่ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการขออนุญาตเก็บรักษาและบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลว

·          บทที่ ระเบียบในการตรวจร่วมและสอบสวนดำเนินคดีผู้ฝ่าฝืนกฎกระทรวง  ตาม ปว.  28  ธันวาคม 2514

 

ลักษณะที่  34  การตรวจคนเข้าเมือง

 

·          บทที่ ข้อความเบื้องต้น

·          บทที่ หนังสือเดินทาง

·          บทที่ การตรวจลงตราหนังสือเดินทาง  (VISA)

·          บทที่ การเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรของคนต่างด้าว

·          บทที่ การประกัน

·          บทที่ ว่าด้วยการตรวจบุคคลและพาหนะทั่วไป

·          บทที่ หน้าที่แพทย์ตรวจคนเข้าเมือง

·          บทที่ คนอยู่ชั่วคราว

·          บทที่ นักท่องเที่ยว

·          บทที่ 10  คนเดินทางผ่านราชอาณาจักร

·          บทที่ 11  ผู้ควบคุมพาหนะและคนประจำพาหนะ

·          บทที่ 12  คนต่างด้าวที่ได้รับการยกเว้น

·          บทที่ 13  การปฏิบัติแก่คนต่างด้าวที่ไม่มีสนธิสัญญากับประเทศไทยหรือคนต่างด้าวบางจำพวก

·          บทที่ 14  การออกใบสำคัญและใบแทนใบสำคัญ

·          บทที่ 15  การสลักหลังใบสำคัญ

·          บทที่ 16  การกักตัวคนต่างด้าว

·          บทที่ 17  การสอบสวน

·          บทที่ 18  คนต่างด้าวต้องห้ามเข้าเมือง

·          บทที่ 19  ระเบียบปฏิบัติแก่คนต่างด้าวที่หลบหนีเข้าเมือง

·          บทที่ 20  คนต่างด้าวอพยพเข้ามาในประเทศไทย

·          บทที่ 21  การปฏิบัติเกี่ยวกับการค้าหญิงและเด็กหญิง

·          บทที่ 22  การปฏิบัติในการช่วยเหลือสืบสวนจับกุมผู้กระทำผิด

·          บทที่ 23  พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง

·          บทที่ 24  ช่องทางและด่านตรวจคนเข้าเมือง

·          บทที่ 25  การมอบอำนาจ

·          บทที่ 26  ระเบียบการเงินและเงินล่วงเวลา

·          บทที่ 27  การเก็บเอกสาร

·          บทที่ 28  การสถิติคนเดินทางเข้าและออก

·          บทที่ 29  การขอพิสูจน์สัญชาติ

 

ลักษณะที่  35  รถยนตร์

 

·          บทที่ ข้อความเบื้องต้น

·          บทที่ รถที่ได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียมและภาษี

·          บทที่ 3   การจดทะเบียนรถ

·          บทที่ การโอนทะเบียนและการแจ้งย้ายรถ

·          บทที่ การนำรถยนตร์ออกนอกราชอาณาจักร

·          บทที่ แผ่นป้ายทะเบียนรถยนตร์

·          บทที่ การเรียกค่าธรรมเนียมและภาษีรถประจำปี

·          บทที่ การออกใบเสร็จรับเงินค่าธรรมเนียมและภาษีรถ

·          บทที่ การรับเงินและส่งเงินค่าภาษีและค่าธรรมเนียม

·          บทที่ 10  แบบพิมพ์

·          บทที่ 11  การลงนาม

·          บทที่ 12  การแจ้งไม่ใช้รถ

·          บทที่ 13  การจดทะเบียนรถบางประเภท

·          บทที่ 14  การกำหนดน้ำหนักรถ น้ำหนักบรรทุกของรถ และจำนวนผู้โดยสาร

·          บทที่ 15  การตอกหมายเลขตัวรถและหมายเลขเครื่องยนตร์

·          บทที่ 16  ใบอนุญาตขับรถ

·          บทที่ 17  การต่ออายุใบอนุญาต

·          บทที่ 18  การจำหน่ายชื่อผู้ขออนุญาตขับรถยนตร์

·          บทที่ 19  การฝึกหัดขับรถยนตร์

·          บทที่ 20  การใช้ใบอนุญาตขับขี่รถยนตร์ของประเทศที่เป็นภาคีว่าด้วยการจราจรทางถนน

·          บทที่ 21  การรับเงินและส่งเงินค่าธรรมเนียมใบอนุญาตขับขี่

·          บทที่ 22  การเรียกค่าธรรมเนียม

·          บทที่ 23  การออกใบเสร็จรับเงินค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตขับขี่

·          บทที่ 24  แบบพิมพ์

 

ลักษณะที่  36  ล้อเลื่อน

 

·          บทที่ ข้อความเบื้องต้น

·          บทที่ ล้อเลื่อนทหาร

·          บทที่ การจดทะเบียนล้อเลื่อน

·          บทที่ ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนล้อเลื่อน

·          บทที่ การเก็บค่าธรรมเนียม จดทะเบียนล้อเลื่อนที่เปลี่ยนแปลงชนิดหรือประเภท

·          บทที่ การโอนล้อเลื่อน

·          บทที่ อายุและการต่ออายุใบอนุญาตขับขี่ล้อเลื่อนและรถยนตร์

·          บทที่ การกำหนดวันรับจดทะเบียน

·          บทที่ การตอกเลขหมายประจำรถ

·          บทที่ 10  การจำหน่ายทะเบียนล้อเลื่อน

·          บทที่ 11  การขอใบอนุญาตขับขี่ล้อเลื่อน

·          บทที่ 12  การถอนใบอนุญาตของผู้ขับขี่ล้อเลื่อนรับจ้างและบุคคล

·          บทที่ 13  เครื่องแต่งกายผู้ขับขี่ล้อเลื่อนรับจ้าง

·          บทที่ 14  การยกเว้นการเก็บภาษีอากร และค่าธรรมเนียมแก่ผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ

·          บทที่ 15  การใช้แบบพิมพ์เกี่ยวกับล้อเลื่อน

·          บทที่ 16  การลงนามในแบบพิมพ์

·          บทที่ 17  การใช้และเขียนข้อความในใบเสร็จรับเงินธรรมดา

·          บทที่ 18  การเงินและค่าธรรมเนียมล้อเลื่อน

 

ลักษณะที่  37  โรงรับจำนำและค้าของเก่า

 

·          บทที่ ข้อความเบื้องต้น

·          บทที่ พนักงานเจ้าหน้าที่

·          บทที่ คุณสมบัติของบุคคลที่จะรับอนุญาตให้ตั้งโรงรับจำนำ

·          บทที่ อำนาจหน้าที่เจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต

·          บทที่ อำนาจเจ้าพนักงานตรวจโรงรับจำนำ

·          บทที่ การขอตั้งโรงรับจำนำ

·          บทที่ การตรวจโรงรับจำ

·          บทที่ ข้อความเบื้องต้น

·          บทที่ คุณสมบัติของบุคคลที่จะรับอนุญาตให้ค้าของเก่าและขายทอดตลาด

·          บทที่ 10  เจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต

·          บทที่ 11  ผู้ขายทอดตลาดต้องปฏิบัติ

·          บทที่ 12  ผู้ค้าของเก่าต้องปฏิบัติ

·          บทที่ 13  การถอนใบอนุญาตผู้ค้าของเก่าและขายทอดตลาด

·          บทที่ 14  การตรวจร้านค้าของเก่าและขายทอดตลาด

 

ลักษณะที่  38  ภาพยนตร์

 

·          บทที่ ข้อความเบื้องต้น

·          บทที่ ขออนุญาตฉายภาพยนตร์ หรือส่งภาพยนตร์ออกนอกราชอาณาจักร หรือขอใบแทนใบอนุญาต

·          บทที่ การตรวจพิจารณาภาพยนตร์

·          บทที่ การลงหลักฐาน

·          บทที่ การขออนุญาต

·          บทที่ การประทับตรา

·          บทที่ การออกใบอนุญาตและการรับเงิน

·          บทที่ การยึดภาพยนตร์และโฆษณา

·          บทที่ การจัดทำสถิติ

·          บทที่ 10  ข้อห้ามเปิดเผยการอนุญาตภาพยนตร์

·          บทที่ 11  การตรวจสถานที่ฉายภาพยนตร์

 

ลักษณะที่  39  โรงแรม

ลักษณะที่  40  ระเบียบปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติปรามการค้าประเวณี  พ.ศ. 2503

ลักษณะที่  41  การพนัน

 

·          บทที่ ข้อความเบื้องต้น

·          บทที่ การพนันประเภทห้ามขาด

·          บทที่ การพนันประเภทอนุญาต

·          บทที่ กำหนดเวลาให้เล่นตามใบอนุญาต

·          บทที่ ลักษณะข้อจำกัดและเงื่อนไขการเล่นการพนันในบัญชี ข.

·          บทที่ ระเบียบการขออนุญาต  การอนุญาตและการออกใบอนุญาตให้เล่นการพนัน

·          บทที่ การออกใบอนุญาตให้เล่นการพนัน

·          บทที่ เงินค่าธรรมเนียมการพนัน

·          บทที่ วิธีเล่นการพนันปิงโกพลิกแพลง

·          บทที่ 10  การขออนุญาตชนไก่และกัดปลา

·          บทที่ 11  การเล่นบิลเลียด

·          บทที่ 12  การพนันแข่งม้า

·          บทที่ 13  การขออนุญาตเล่นโบลิ่ง

·          บทที่ 14  การพนันต่อยลูกบอลล์

·          บทที่ 15  การปราบปรามการพนันทุกประเภท

 

ลักษณะที่  42  การเรี่ยไร

ลักษณะที่  43  ระเบียบเกี่ยวกับหญิง   เด็กหญิง  และวัตถุลามกอนาจาร

ลักษณะที่  44  การส่งวัตถุของกลางในคดีอาญาและวัตถุอื่น ๆ บางอย่างไปเก็บเป็นพิพิธภัณฑ์

ลักษณะที่  45  การเตรียมพร้อม

 

·          บทที่ การใช้กำลังตำรวจ  การเคลื่อนกำลังตำรวจ  และการเตรียมพร้อม

·          บทที่ การปฏิบัติของหน่วยต่าง ๆ เมื่อมีคำสั่งให้เตรียมพร้อม

 

ลักษณะที่  46  อากรแสตมป์

ลักษณะที่  47  ระเบียบเกี่ยวกับเครื่องบิน

 

·          บทที่ การประทับตราเครื่องถ่ายรูปที่นำมาในอากาศยานและการตรวจน้ำหนักบรรทุกของอากาศยาน

·          บทที่ การโดยสารเครื่องบินกองทัพอากาศของคณะกรรมการจังหวัด

·          บทที่ การปฏิบัติเมื่อเครื่องบินตก

·          บทที่ การให้ข้าราชการเดินทางโดยเครื่องบิน

·          บทที่ การใช้และการโดยสารอากาศยานของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

·          บทที่ การร่วมมือกับองค์การตำรวจสากลของตำรวจเวรประจำท่าอากาศยานดอนเมือง

·          บทที่ การรายงานเครื่องบินผ่านและเรือรบต่างชาติล่วงละเมิดอธิปไตย

·          บทที่ การปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องบินกองทัพอากาศก่อนบินเดินทางไปสนามบินที่ไม่มีหน่วยทหารอากาศ

·          บทที่ การตรวจตราสอดส่องสนามบินและการขึ้นลงของเครื่องบิน

·          บทที่ 10  การรายงานความเสียหายจากภัยทางอากาศ

·          บทที่ 11  ว่าด้วยนักบินของกรมตำรวจ พ.ศ. 2535

 

ลักษณะที่  48  ระเบียบเกี่ยวกับสัญชาติ

 

·          บทที่ ข้อความเบื้องต้น

·          บทที่ พนักงานเจ้าหน้าที่

·          บทที่ การได้สัญชาติไทยของหญิงซึ่งเป็นคนต่างด้าว

 

ลักษณะที่  49  เอกสารหนังสือพิมพ์

 

·          บทที่ พนักงานเจ้าหน้าที่และอำนาจเจ้าพนักงานการพิมพ์ตามพระราชบัญญัติการพิมพ์

·          บทที่ การเขียนเรื่องลงหนังสือพิมพ์ของข้าราชการตำรวจ

·          บทที่ การขอแจ้งความจากเอกชนหรือร้านค้า

·          บทที่ ระเบียบการหนังสือพิมพ์ตำรวจ

 

ลักษณะที่  50  สมาคม

 

·          บทที่ หลักทั่วไปว่าด้วยการจดทะเบียนสมาคมในกรุงเทพมหานคร

·          บทที่ วิธีการจดทะเบียนสมาคมในกรุงเทพมหานคร

·          บทที่ วิธีการจดทะเบียนสมาคมของกองตำรวจสันติบาล

 

ลักษณะที่  51  การจัดทำตำราของกรมตำรวจ

ลักษณะที่  52  งานพิธี

 

·          บทที่ ระเบียบปฏิบัติบางประการเกี่ยวกับงานพิธี

·          บทที่ การเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท

·          บทที่ วิธีกล่าวคำสัตย์ปฏิญาณตน

·          บทที่ พิธีประดับยศข้าราชการตำรวจ

 

ลักษณะที่  53  สำเนาทะเบียนสำมะโนครัว

ลักษณะที่  54  งานสารบรรณ

 

·          บทที่ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ  พ.ศ. 2526   แก้ 2539

·          บทที่ ระเบียบงานสารบรรณตำรวจ

·          บทที่ การใช้บันทึกข้อความ

·          บทที่ การจัดทำหนังสือ

·          บทที่ การเสนองาน

·          บทที่ การรับและส่งหนังสือ

·          บทที่ การคัดสำเนา การลงนามตรวจและการรับผิดชอบในหนังสือราชการ

·          บทที่ การใช้คำย่อในราชการตำรวจ

·          บทที่ การกำหนดเลขประจำหน่วยงานภายในกรมตำรวจ

·          บทที่ 10  การส่งไปรษณียภัณฑ์และพัสดุไปรษณีย์

·          บทที่ 11  ไปรษณีย์สนามของทหารและตำรวจชายแดน

·          บทที่ 12  คำสั่งของเจ้าพนักงานจราจร

·          บทที่ 13  ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี  พ.ศ. 2531 (ฉ.1-2) พ.ศ. 2532

 

ลักษณะที่  55  การทะเบียนคนต่างด้าว

 

·          บทที่ บททั่วไป

·          บทที่ การออกใบสำคัญประจำตัว

·          บทที่ การต่ออายุใบสำคัญประจำตัว

·          บทที่ การออกใบสำคัญประจำตัวแทนฉบับเดิม

·          บทที่ 5  การแจ้งย้ายภูมิลำเนาและการเดินทางออกนอกเขตจังหวัด

·          บทที่ การเดินทางออกนอกราชอาณาจักรและการถูกเนรเทศ

·          บทที่ การตายของคนต่างด้าว

·          บทที่ การเปลี่ยนแปลงสัญชาติ อาชีพ ชื่อตัว ชื่อรอง  ชื่อสกุล  หรือรายการต่าง ๆ ในใบสำคัญประจำตัว

·          บทที่ คนต่างด้าวซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย

·          บทที่ 10  คนต่างด้าวซึ่งได้รับอนุญาตให้เป็นคนเข้าเมือง

·          บทที่ 11  การเปลี่ยนรูปถ่ายใหม่

·          บทที่ 12  การเปลี่ยนใบสำคัญประจำตัวจากเล่มเก่าเป็นเล่มใหม่

·          บทที่ 13  การรับเงินค่าธรรมเนียม

·          บทที่ 14  การปฏิบัติเกี่ยวกับใบเสร็จรับเงิน

·          บทที่ 15  การทำบัญชีคุมคนต่างด้าว

·          บทที่ 16  การรายงานสถิติคนต่างด้าว

·          บทที่ 17  การเก็บเอกสารทะเบียนคนต่างด้าว

·          บทที่ 18  การปฏิบัติเกี่ยวกับคนต่างด้าวกระทำผิดกฎหมาย

·          บทที่ 19  การตรวจงานทะเบียนคนต่างด้าว

 

ลักษณะที่  56  การตรวจราชการ

  บทที่ การตรวจราชการของกรมตำรวจ

·          บทที่ การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย    พ.ศ. 2533

 

ลักษณะที่  57  ลักษณะเบ็ดเตล็ด

  บทที่ ระเบียบการนายตำรวจราชสำนัก

·          บทที่ มารยาททางการเมืองของข้าราชการพลเรือน

·          บทที่ การนำของของทางราชการผ่านศุลกากร

·          บทที่ การเขียนป้ายชื่อสถานที่ทำงานของรัฐบาล

·          บทที่ การขอความร่วมมืออุทิศเงินรายได้เพื่อสาธารณกุศลวันตำรวจ

·          บทที่ การสงเคราะห์ครอบครัวข้าราชการตำรวจ

·          บทที่ ว่าด้วยกองทุนสวัสดิการสโมสรตำรวจ

·          บทที่ การใช้เครื่องจับเท็จ

·          บทที่ การรายงานตนเมื่อเข้าไปในกรุงเทพมหานคร

·          บทที่ 10  การรายงานตนเมื่อผู้บังคับบัญชาที่สูงกว่าชั้นผู้บังคับการสั่งให้ปฏิบัติราชการลับหรือพิเศษ

·          บทที่ 11  การรายงานตนเมื่อเป็นสมาชิกหรือกรรมการในสโมสรและสมาคม

·          บทที่ 12  การรายงานเมื่อพบปะสนทนากับชาวต่างประเทศ

·          บทที่ 13  การรายงานตนเมื่อถูกอ้างเป็นพยาน

·          บทที่ 14  การจัดสร้างภาพยนตร์

·          บทที่ 15  การควบคุมการโฆษณาโดยใช้เครื่องขยายเสียง

·          บทที่ 16  การควบคุมการโฆษณาโดยยานพาหนะเคลื่อนที่

·          บทที่ 17  การกำจัดเหตุน่ารำคาญ

·          บทที่ 18  การป้องกันทรัพย์สินของสาธารณสมบัติ

·          บทที่ 19  การชักธงชาติ

·          บทที่ 20  การเพิ่มชื่อในทะเบียนสำมะโนครัว

·          บทที่ 21  การใช้เครื่องหมายรูปโล่ของกรมตำรวจและเครื่องหมายของหน่วยราชการต่าง  ๆ ในกรมตำรวจ

·          บทที่ 22  การจัดทำและรวบรวมแบบธรรมเนียมต่าง ๆ ในทางปฏิบัติราชการ

·          บทที่ 23  การพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์และบัตรสนเท่ห์

·          บทที่ 24  คำนำนามสตรีผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์

·          บทที่ 25  การติดธงและตราบนรถยนตร์ของสำนักงานสหประชาชาติและทบวงการชำนัญพิเศษใน กทม.

·          บทที่ 26  การให้ความคุ้มครองต่อชาวต่างประเทศ

·          บทที่ 27  การถือปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วยการข้ามแดน

·          บทที่ 28  การทำคำแถลงชี้แจงเกี่ยวกับร่างกฎหมาย

·          บทที่ 29  การป้องกันและปราบปรามการจับสัตว์น้ำโดยใช้ยาเบื่อเมาและวัตถุระเบิด

·          บทที่ 30  การเสนอบัตรแสดงผลการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน

·          บทที่ 31  การส่งเสริมข้าราชการตำรวจที่ดีเยี่ยมในการปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย

·          บทที่ 32  การตรวจถุงเมล์และสินค้าติดตัวผู้โดยสารเครื่องบิน

·          บทที่ 33  การใช้กระบี่สำหรับนายตำรวจ

·          บทที่ 34  ข้อบังคับโรงพิมพ์ตำรวจ

·          บทที่ 35  การนำกล้องถ่ายรูปส่วนตัวมาใช้ราชการ

·          บทที่ 36  การจัดทำโครงการ

·          บทที่ 37  คำร้องของประชาชนและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

·          บทที่ 38  การส่งเสริมเกียรติคุณและสนับสนุนผู้ทำหน้าที่ครูในโรงเรียนตำรวจต่าง ๆ ในสังกัดกรมตำรวจ

·          บทที่ 39  ระเบียบเลื่อนเงินเดือนข้าราชการถึงแก่ความตายเนื่องจากการปฏิบัติราชการในหน้าที่ พ.ศ. 2506

·          บทที่ 40  ระเบียบกรมตำรวจ  ว่าด้วยการใช้ห้องสมุดกลางกรมตำรวจ

·          บทที่ 41  การมอบประกาศเกียรติคุณในวาระข้าราชการตำรวจเกษียณอายุ

·          บทที่ 42  ข้อตกลงระหว่างกระทรวงกลาโหมกับกระทรวงมหาดไทย

·          บทที่ 43  การจัดตั้งโรงเรียนชาวเขาและประชาชนไกลคมนาคม

·          บทที่ 44  สวัสดิการอาหารในบริเวณกรมตำรวจ

·          บทที่ 45  การเชิดชูเกียรติข้าราชการตำรวจที่มีมนุษย์สัมพันธ์ดีเด่น

·          บทที่ 46  การมอบโล่หรือประกาศนียบัตรเกียรติคุณเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ทำหน้าที่จราจรชั้นประทวน

·          บทที่ 47  สวัสดิการกรมตำรวจ  พ.ศ. 2536

·          บทที่ 48  การเงินและการบัญชีของเงินกองทุนสวัสดิการ พ.ศ. 2536

·          บทที่ 49  กองทุนสวัสดิการสถานพักฟื้นและตากอากาศกรมตำรวจ  พ.ศ. 2540

·          บทที่ 50  ว่าด้วยกองทุนสวัสดิการสนามกีฬากรมตำรวจ

·          บทที่ 51  ว่าด้วยกองทุนสวัสดิการห้องประชุมกองสวัสดิการ

·          บทที่ 52  ว่าด้วยกองทุนสวัสดิการวงดุริยางค์ตำรวจ

·          บทที่ 53  ว่าด้วยกองทุนพัฒนาการสอบ พ.ศ. 2543