คำเด็ดกฏหมาย
***********ภาค 1********c==}:::::::::::>
-เสนอขณะเริ่มต้นคดีโดยคำฟ้อง
-ยกข้อต่อสู้เป็นข้อแก้คำฟ้อง
-ยื่นต่อศาลเพื่อตั้งประเด็นระหว่างคู่ความ
-การพิจารณา="ก่อนศาลนั้นชี้ขาดตัดสินหรือจำหน่ายคดีโดยคำพิพากษาหรือคำสั่ง"
-ศาลออกนั่งเกี่ยวกับการพิจารณาคดี
-เริ่มต้นสืบพยาน
-ผู้ยื่นคำฟ้องหรือถูกฟ้องต่อศาล บุคคลผู้มีสิทธิกระทำแทน ทนายความ
-ม.2 สภาพแห่งคำฟ้องและชั้นของศาล คดีนั้นอยู่ในเขตศาลนั้น
-ม.3 มูลคดีเกิดขึ้นในเรือไทยหรืออากาศยานไทยที่อยู่นอกราชอาณาจักร
เคยมีภูมิลำเนา ภายใน 2 ปีก่อนวันที่มีการเสนอคำฟ้อง
ที่ใช้หรือเคยใช้ประกอบกิจการ สถานที่อันเป็นที่อยู่ของตัวแทน ในวันที่มีการเสนอคำฟ้อง ภายในกำหนด 2 ปีก่อนนั้น
-ม.4 คำฟ้อง จำเลยมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล
มูลคดีเกิดขึ้นในเขตศาล
คำร้องขอ มูลคดีเกิดขึ้นในเขตศาล ผู้ร้องมีภูมิลำเนา
-ม.4ทวิ อสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู่
-ม.4ตรี โจทก์เป็นผู้มีสัญชาติไทย มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักร
-
-
-
-
********ภาค 2*******c==}:::::::::::>
-แสดงอำนาจพิเศษต่อศาล 142(1),
296จัตวา(3)
-ม.197 จำเลยมิได้ยื่นคำให้การภายในระยะเวลากำหนด
-ม.198 ชี้ขาดให้ตนเป็นฝ่ายชนะคดีโดยขาดนัด
-ม.198ทวิ คำฟ้องโจทก์มีมูลและไม่ขัดต่อกฏหมาย สิทธิแห่งสภาพบุคคล สิทธิในครอบครัว พิพาทเกี่ยวด้วยกรรมสิทธิิ์ในอสังหาริมทรัพย์ เป็นเงินจำนวนแน่นอน คดีีโจทก์ไม่มีมูลและให้ยกฟ้องของโจทก์
-ม.198ตรี "มูลความแห่งคดีนั้นเป็นการชำระหนี้ที่แบ่งแยกกันไม่ได้" ม.59
-ม.199 "ก่อนศาลวินิจฉัยชี้ขาด ประสงค์ต่อสู้คดี มิได้เป็นไปโดยจงใจหรือมีเหตุอันสมควร" "อาจถามค้านพยานโจทก์ที่อยู่ระหว่างการสืบ"
-ม.199ตรี "แพ้คดีโดยขาดนัดยื่นคำให้การ"
-ม.199จัตวา "ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้ส่งคำบังคับตามคำพิพากษา พฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ 15 วันนับแต่วันที่พฤติการณ์นั้นได้สิ้นสุดลง 6 เดือนนับแต่ยึดทรัพย์ : หากศาลได้พิจารณาคดีนั้นใหม่ตนอาจเป็นฝ่ายชนะคดี
-ม.199 เบญจ การพิจารณาคำขอให้พิจารณาคดีใหม่ (:-D มิจง องอาจชนะ ในระยะเวลา:)
**การขาดนัดพิจารณา**
-ม.200 ไม่มาศาลในวันสืบพยานและไม่ได้รับอนุญาตจากศาลให้เลื่อนคดี ขาดนัดพิจารณา
-ม.201
(\___/)
( ^.^ )
o( (")(")) c==}:::::::::::>
*******อุทธรณ์-ฎีกา*******c==}:::::::::::>
-ม.224 ราคาทรัพย์สิน/ทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณ์ไม่เกิน 50,000 บาท อันมีค่าเช่าหรืออาจให้เช่าได้ในขณะยื่นฟ้องไม่เกินเดือนละ 4,000 บาท
-ม.225 ชัดแจ้งในอุทธรณ์ ยกขึ้นว่ามาโดยชอบในศาลต้น เป็นสาระแก่คดีอันควรได้รับการวินิจฉัย พฤติการณ์ไม่เปิดช่องให้กระทำได้
-ม.226 โต้แย้งคำสั่ง คู่ความฝ่ายที่โต้แย้งชอบที่จะอุทธรณ์คำสั่งนั้นได้ นับตั้งแต่มีการยื่นคำฟ้อง
-ม.227 ทำให้คดีเสร็จไปท้ังเรื่อง
-ม.228 คำสั่งเกี่ยวกับคำขอเพื่อคุ้มครองประโยชน์ ไม่รับหรือคืนคำคู่ความ-มิทำให้คดีเสร็จไปทั้งเรื่อง
-ม.229 ทำเป็นหนังสือยื่นต่อศาลชั้นต้น ค่าธรรมเนียมซึ่งต้องใช้แก่คู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง
-ม.230 ยื่นคำร้องต่อศาลถึงอธิบดีผู้พิพากษาหรืออธิบดีผู้พิพากษาภาคภายใน 7 วัน
-ม.231 การขอให้ศาลทุเลาการบังคับไว้ วางเงินจำนวนพอชำระหนี้ตามคำพิพากษา ค่าฤชาธรรมเนียม หรือได้หาประกันมาให้
-ม.232 มีคำสั่งให้ส่งหรือปฏิเสธไม่ส่งอุทธรณ์นั้นไปยังศาลอุทธรณ์
-ม.233
-ม.234 ศาลชั้นต้นไม่รับอุทธรณ์ อุทธรณ์คำสั่งศาลนั้นไปยังศาลอุทธรณ์โดยยื่นคำขอเป็นคำร้อง ค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง นำเงินมาชำระตามคำพิพากษาหรือหาประกันมาให้
-ม.235 ศาลชั้นต้น
**********ภาค 4********* c==}:::::::::::>
----------------------------
หนี้ วัตถุแห่งหนี้
มาตรา ๑๙๘ สิทธิที่จะเลือกทำการอย่างใดตกอยู่แก่ฝ่ายลูกหนี้
มาตรา ๒๐๐ มิได้เลือกภายในระยะเวลา
มาตรา ๒๐๒ การอันจะพึงต้องทำเพื่อชำระหนี้นั้นมีหลายอย่าง
ตกเป็นพ้นวิสัยมาแต่ต้น หรือ ภายหลัง
จำกัดหนี้ไว้เพียงแต่การชำระหนี้อย่างอื่นที่ไม่พ้นวิสัย
ผลแห่งหนี้++
มาตรา ๒๐๔ -หนี้ถึงกำหนดชำระ เจ้าหนี้ได้ให้คำเตือนลูกหนี้
-ผิดนัดเพราะเขาเตือนแล้ว
-กำหนดระยะเวลาชำระหนี้ไว้ตามวันแห่งปฏิทิน
-เป็นผู้ผิดนัดโดยมิพักต้องเตือนเลย
-บอกกล่าวล่วงหน้าก่อนการชำระหนี้
มาตรา ๒๐๕ -พฤติการณ์อันลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ
-ลูกหนี้ยังหาได้ชื่อว่าผิดนัดไม้
มาตรา ๒๐๖ หนี้อันเกิดแต่มูลละเมิด
มาตรา ๒๐๗ ลูกหนี้ขอปฏิบัติการชำระหนี้ เจ้าหนี้ไม่รับชำระหนี้
โดยปราศจากมูลเหตุอันจะอ้างกฎหมายได้ เจ้าหนี้ผิดนัด
มาตรา ๒๐๘ ต้องขอปฏิบัติการชำระหนี้ต่อเจ้าหนี้โดยตรง
เจ้าหนี้แสดงแก่ลูกหนี้ จะไม่รับชำระหนี้
เพื่อที่จะชำระหนี้จำเป็นเจ้าหนี้ต้องกระทำการ
บอกกล่าว เตรียมการที่จะรับชำระหนี้ไว้พร้อมสรรพ
ให้เจ้าหนี้รับชำระหนี้เท่านี้ก็นับว่าเป็นการเพียงพอ
คำบอกกล่าวของลูกหนี้ก็เสมอคำขอปฏิบัติชำระหนี้
มาตรา ๒๑๐ ลูกหนี้จำต้องชำระหนี้ส่วนของตนต่อเมื่อเจ้าหนี้ชำระ
หนี้ตอบแทนด้วย หากไม่เสนอชำระหนี้ตอบแทน
เจ้าหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัด
(โยงกับมาตรา ๓๖๙ สัญญต่างตอบแทน คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งจะไม่ยอมรับชำระหนี้ จนกว่าอีกฝ่ายหนึ่งจะชำระหนี้หรือขอปฏิบัติการชำระหนี้ แต่ไม่ให้ใช้บังคับหากว่าหนี้ของคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งยังไม่ถึงกำหนดชำระ)
มาตรา ๒๑๑ เวลาลูกหนี้ขอปฏิบัติการฯ เวลากำหนดเจ้าหนี้ ๒๐๙
ลูกหนี้ไม่ได้อยู่ในฐานะที่จะสามารถชำระหนี้ได้
เจ้าหนี้ยังหาผิดนัดไม่
มาตรา ๒๑๒ เจ้าหนี้มีเหตุขัดข้องชั่วคราวไม่อาจรับชำระหนี้ได้
มาตรา ๒๑๓ ลูกหนี้ละเลยเสียไม่ชำระหนี้ของตน
เจ้าหนี้จะร้องขอต่อศาลสั่งให้บังคับชำระหนี้ได้
เว้นแต่สภาพแห่งหนี้จะไม่เปิดช่องให้ทำเช่นนั้นได้
ว.๒ สภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่องให้บังคับชำระหนี้ได้
เจ้าหนี้จะร้องขอต่อศาลสั่งให้บังคับบุคคลภายนอก
ให้กระทำการอันโดยลูกหนี้เสียค่าใช้จ่าย
วัตถุแห่งหนี้เป็นการให้กระทำนิติกรรมอย่างใด
ถือเอาคำพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของลูกหนี้
มาตรา ๒๑๘ ความประมาทเลินเล่อในระหว่างที่ตนผิดนัด
การชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะอุบัติเหตุอันเกิด
ในระหว่างที่ตนผิดนัด
มาตรา ๒๑๙
ม.๑๓๑๖ สังหาฯ - รวมเป็นส่วนควบ แบ่งแยกไม่ได้
เป็นเจ้าของรวม มีส่วนตามค่าแห่งทรัพย์ในเวลารวม
เว้นแต่ถือว่าเป็นทรัพย์ประธาน
ม.๑๓๑๗ เจ้าของสัมภาระเป็นเจ้าของสิ่งนั้น ต้องใช้ค่าแรงงาน
ม.๑๓๒๙ ได้มาซึ่งทรัพย์สิน - ค่าตอบแทน - สุจริต - มิเสียไป
แม้ นิติกรรมอันเป็นโมฆียะ ถูกบอกล้างภายหลัง
ม.๑๓๓๐ ซื้อทรัพย์สุจริตในการขายทอดตลาดตามคำสั่งศาล
แม้ทรัพย์มิใช่ของจำเลย , ลูกหนี้ตามพิพาก , ผู้ล้ม
ม.๑๓๓๒ ซื้อทรัพย์มาโดยสุจริตจากการขายทอดตลาด
ท้องตลาด หรือพ่อค้าซึ่งขายของนั้น ไม่ต้องคืน
เว้นแต่เจ้าของใช้ราคามา
**กม.ล้มละลาย (ฟื้นฟู)**
ม.90/9 คัดค้าน
ม.90/10
ม.
พันตำรวจโทจักรกฤช ชูคง
ผบ.ร้อย ฝ่ายปกครอง ๑ (กองร้อยที่ ๔)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น